เพื่อนสัมพันธ์: เป็นมากเกินกว่าเพื่อน แต่ไม่ใช่คนรัก
Main Article Content
บทคัดย่อ
มีวิธีวิทยาจำนวนมากที่จะนำผู้วิจัยให้สามารถแสวงหาความรู้ ความจริง ความดี ความงามได้ วิธีวิทยาแบบชาติพันธุ์วรรณาก็เช่นกัน ที่สามารถเข้าถึงความรู้สึกนึกคิดของมนุษย์ได้อย่างตรงไปตรงมา ทั้งในพื้นที่ออนไลน์และออฟไลน์ตามวิธีการของ Professor Robert V. Kozinets โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อประเด็นที่ต้องการศึกษามีความละเอียดอ่อนต่อการให้ข้อมูลและการเปิดเผยความจริง ผู้วิจัยจึงเลือกวิธีวิทยานี้ในการแสวงหาข้อมูล ผ่านชายรักชาย 5 คู่ ที่มีสถานะเพื่อนสัมพันธ์ โดยใช้ระยะเวลาศึกษาทั้งสิ้น 8 เดือน เริ่มตั้งแต่กุมภาพันธ์ ถึง ตุลาคม 2566
ผลการศึกษา พบว่า สถานะเพื่อนสัมพันธ์ (Friends with benefits relationships : FWBRs) เป็นสถานะหรือความสัมพันธ์ที่มีความแตกต่าง จากคู่รักทั่วไปอาจเพียงแค่ประการเดียว คือ การตัดสินใจคบหาดูใจ เพราะในรายละเอียดของสถานะนี้นั้น ต้องมีความไว้วางใจ รู้ใจ และสามารถเป็นที่ปรึกษาของกันและกันได้ และก็ไม่สามารถปฏิเสธได้อีกเช่นกันว่า ปัจจัยที่ส่งเสริมให้ปรากฏการณ์ FWB เกิดขึ้นในวงกว้างตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ก็คือ สังคมที่ บ่มเพาะการไม่ยอมรับ สังคมแห่งการตีตรา สังคมแห่งการดูถูก จึงส่งผลให้บุคคลจำเป็นที่จะต้องแสวงหาทางออก เพื่อตอบสนองความต้องการของตนเอง
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1) บทความนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แต่ความคิดเห็นและเนื้อหาเป็นของผู้แต่ง
2) ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารวิจัยสังคมและปริทัศน์ สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้แต่งบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการวารสารวิจัยสังคมและปริทัศน์ สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอก แต่ให้ระบุถึงการอ้างอิง
References
ธเนศ วงศ์ยานนาวา. (2562). ว่าด้วยเพศ: จากธรรมชาติ สู่จริยธรรม จนถึงสุนทรียะ และหุ่นยนต์ (On Sex) (พิมพ์ครั้งที่ 4.). นนทบุรี: สำนักพิมพ์สมมติ.
เบญจรงค์ ถิระผลิกะ. (2564). บทปริทัศน์หนังสือเรื่อง “ว่าด้วยเพศ: จากธรรมชาติ สู่จริยธรรมจนถึงสุนทรียะและหุ่นยนต์ (On Sex)”. วารสารวิจัยสังคม สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 43(2): 221-233.
ภาณุ สหัสสานนท์. (2561). Friends with benefits หรือเรียกสั้นๆ ว่า F.W.B. คือ ความสัมพันธ์รูปแบบหนึ่งที่เพื่อนทำหน้าที่ร่วมหลับนอนกับเพื่อน. (ออนไลน์), เข้าถึงได้จากhttps://www.facebook.com/PsychologyChula/posts/1906381469476257:0. (เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2566).
รณภูมิ สามัคคีคารมย์ และคณะ. (2551). เพศวิถีในสื่อนิยม: บริบทเสี่ยงและเสริมต่อสุขภาวะทางเพศ. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
สีตลา ชาญวิเศษ. (2559). บทบาทเครือข่ายสังคมออนไลน์ในการพัฒนาความสัมพันธ์แบบโรแมนติก. (นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.
Afifi, W. A., & Faulkner, S. L. (2000). On BeingJust Friends': The Frequency and Impact of Sexual Activity in Crosssex Friendships. Journal of Social and Personal relationships, 17(2): 205-222.
Brehm, S. S., Miller, R. S., Perlman, D., & Campbell, S. M. (1992). Intimate relationships: McGraw-Hill New York.
Garcia, J. R., Reiber, C., Massey, S. G., & Merriwether, A. M. (2012). Sexual hookup culture: A review. Review of General Psychology, 16(2): 161-176.
Hetland, P., & Mørch, A. I. (2016). Ethnography for investigating the Internet. Paper presented at the Seminar. net.
Hine, C. (2000). Virtual ethnography. [Online]. Retrieved from https://doi.org/10.4135/9780857020277. (Accessed 1 November 2023).
Hughes, S. A., & Pennington, J. L. (2016). Autoethnography: Process, product, and possibility for critical social research: Sage Publications.
Humphreys, L. (1975). Tearoom trade, enlarged edition: Impersonal sex in public places: Transaction Publishers.
Kelly, M. (2005). The Seven Levels of Intimacy: The Art of Loving and the Joy of Being Loved: Simon and Schuster.
Knack, S., & Keefer, P. (1997). Does social capital have an economic payoff? A cross-country investigation. The Quarterly journal of economics, 112(4): 1251-1288.
Kozinets, R. V. (2010). Netnography: Doing ethnographic research online: Sage publications.
Lloyd, S. L. (2023). Friends With Benefits: What Does It Mean and Is It Right for You? RELATIONSHIPS LOVE & DATING. [Online]. Retrieved from https://www.brides.com/what-does-friends-with-benefits-mean-1021859. (Accessed 1 December 2023).
Machia, L. V., Proulx, M. L., Ioerger, M., & Lehmiller, J. J. (2020). A longitudinal study of friends with benefits relationships. Personal Relationships, 27(1): 47-60.
Morley, D. (1989). Changing paradigms in audience studies. Remote control: Television, audiences, and cultural power, 16-43.
Munroe, M. (2005). Waiting and dating: A sensible guide to a fulfilling love relationship: Destiny Image Publishers.
Options for sexual health. (2020). INTIMACY AND RELATIONSHIPS. [Online]. Retrieved from https://www.optionsforsexualhealth.org/facts/sex/intimacy-and-relationships/. (Accessed 1 November 2023).
Taylor, D. A., Wheeler, L., & Altman, I. (1973). Self-disclosure in isolated groups. Journal of Personality and Social Psychology, 26(1): 39-47.
Tirapalik, B. (2021). MSDA AUTO ETHNOGRAPHY: A Study of Men Who Have Sex and Use Drugs to Build Camaraderie and Networks with One Another. Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences), 16(2): 195-211.
Tirapalika, B. (2022). The S-CP2D model: The process of building the intimate relationship among MSM-Men who have an intimate relationship or sexual intercourse with men-within Twitter. Kasetsart Journal of Social Sciences, 43(3): 547–552.
Tom Bruett. (2019). How to build intimacy in gay relationships. [Online]. Retrieved from https://is.gd/ACjKaM. (Accessed 1 September 2023).
Vanderdrift, L. E., Lehmiller, J. J., & Kelly, J. R. (2012). Commitment in friends with benefits relationships: Implications for relational and safe‐sex outcomes. Personal Relationships, 19(1): 1-13.