การพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในบริบทสังคมพหุวัฒนธรรมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
Main Article Content
บทคัดย่อ
ผู้บริหารโรงเรียนมีความสำคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ การสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดีหรือหลักธรรมาภิบาลมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการบริหารเพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารและเพื่อประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในบริบทสังคมพหุวัฒนธรรมและเป็นแนวทางสำคัญในการจัดระเบียบให้สังคมและการบริหารจัดการโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามตามภารกิจ คือ การบริหารงานวิชาการ การบริหารบุคคล การบริหารงานงบประมาณ และการบริหารทั่วไปมีความสำคัญอย่างยิ่งผู้บริหารโรงเรียนต้องให้ความสำคัญและยึดหลักธรรมาภิบาล 6 หลัก คือ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความร่วมมือและหลักความคุ้มค่า ในการบริหารงานวิชาการทุกหลักอยู่ในระดับมาก ด้านการบริหารงานบุคคลทุกหลักอยู่ในระดับมาก ด้านการบริหารงานงบประมาณทุกหลักอยู่ในระดับมาก และด้านการบริหารงานทั่วไปทุกหลักอยู่ในระดับมาก และเมื่อประเมินรูปแบบจากครูและผู้บริหารโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามพบว่า เหมาะที่จะนำไปปฏิบัติทุกด้านและทุกข้อ
Article Details
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการเผยแพร่ในวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลานี้ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาก่อนเท่านั้น
References
and Moral Encouragement in Working of Teacher under Yala Primary Educational
Service Area Office. Journal of Yala Rajabhat University, 11(1), 1-18. (in Thai)
2.Heng, R. (2012). School Administration by Teachers under the office of Primary Education Region
in Narathiwat Province. Master Thesis of Education. Rajabhat Yala University. (in Thai)
3.Hoy, K. W. & Miskel, C. G. (2001). Educational Administrational Theory, Research and Practice.
(6th ed.). McGraw Hill: New York.
4.Jaroensook, B. (2009). The Development of Good- Governance Administration of Education
Institutions with Reference to Basic Education in the Upper-South Provinces of Thailand.
Doctor of Philosophy Thesis. Ramkhamhaeng University. (in Thai)
Lunenburg, F. C. & Ornstein, A. C. (2006). Educational Administration: Concepts and Practices.
(3th ed.). Wadsworth: New York.
5.Mongkolvanich, J. (2011). Education to sustainable development: organization and personnel
administration. Bangkok: Siam Technology Institute. (in Thai)
Na Bangchang, S. (2011). Good governance: good regulation. Executive Journal, 2(21), 48-50.
(in Thai)
6.Phaopayon, S. (2010). Human resources administration. Bangkok: Book Point. (in Thai)
7.Sanguannam, C. (2008). Theory and practice in educational institution. Bangkok: Book Point.
(in Thai)
8.Suriwan, V. (2011). The relationship between the good governance administration and personnel
in the schools under the Primary Educational Service Area Office, Roi-et province.
Roi-et Rajabhat University Journal, 5(2), 79-88. (in Thai)
9.The Office of Prime Minister. (1999). Regulations of the Office of the Prime Minister on Good
Governance B.E.2542. Bangkok: Thammasat University. (in Thai)
Wehachart, R. (2009). Academic administration in basic education institutions. Songkla: Thaksin
University. (in Thai)
10.Yodsanga, J. (2012). The State and Problem in Management Based on Good Governance of
Sub-District Administrative Organization’s Mayor in Udon Thani Province. Journal of
Humanities and Social Sciences Udon Thani Rajabhat University, 1(1), 30-41. (in Thai)