ประสิทธิภาพด้านการจัดสรรการปลูกอ้อยในประเทศไทย

Main Article Content

ชนิดา วสันต์
สุรชัย จันทร์จรัส

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ประสิทธิภาพด้านการจัดสรรการปลูกอ้อยของเกษตรกรในประเทศไทย โดยใช้ข้อมูลปีการผลิต 2553/2554 จำนวน 9 จังหวัด ได้แก่ มุกดาหาร กาฬสินธุ์ ขอนแก่น อุดรธานี นครราชสีมา กาญจนบุรี สุพรรณบุรี ชลบุรี และสระแก้ว มาวัดประสิทธิภาพด้านการจัดสรรด้วยวิธี Data Envelopment Analysis (DEA) ผลการศึกษาพบว่า ประสิทธิภาพด้านการจัดสรรการปลูกอ้อยของเกษตรกรในประเทศไทยเฉลี่ยเท่ากับ 0.7824 ซึ่งแบ่งเป็นเกษตรกรที่มีค่าประสิทธิภาพทางด้านการจัดสรรเท่ากับ 1 จำนวน 3 จังหวัด ได้แก่ ขอนแก่น สุพรรณบุรี และมุกดาหาร ส่วนจังหวัดที่เหลือที่มีค่าประสิทธิภาพทางด้านการจัดสรรไม่เท่ากับ 1 โดยมีสาเหตุที่มาจากปัญหาการใช้ปัจจัยการผลิตมากเกินไป

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

1.จารกึ สิงหปรีชา และนติ ิพงษ ์ สง่ ศรโี รจน์. (2550). การวัดประสิทธิภาพเชิงเทคนคิ ของการผลิตข้าวหอมมะลิ อินทรีย์ที่ได้การรับรอง. วารสารเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 14(1), 31-45.
2.ปนัดดา สุจินพรัหม. (2551). การศึกษาประสิทธิภาพทางเทคนิคการปลูกข้าวของเกษตรกรจังหวัดสุพรรณบุรี โดยวิธี Data Envelopment Analysis. วารสารเศรษฐศาสตร์ศรีนครินทรวิโรฒ, 4(4), 140-153.
3.เยาวเรศ เชาวนพูนผล ทรงศักดิ์ ศรีบุญจิตต์ และอารี วิบูลย์พงศ์. (2548). ประสิทธิภาพทางเทคนิคของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวในเขตชลประทาน. รายงานการสัมมนาวิชาการระบบเกษตรแห่งชาติครั้งที่ 3, 9 -11 พฤศจิกายน 2548. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
4.สมชาย หาญหิรัญ. (2550). แนวคิดการวัดประสิทธิภาพการผลิตทางเศรษฐศาสตร์ [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 17 มิถุนายน 2558, จาก : http://www.oie.go.th/sites/default/files/attachments/article/HowtoCheckTFP-inEconomy.pdf.
5.สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและนํ้าตาลทราย. (2558ก). การส่งออกนํ้าตาลทรายไปจำหน่ายต่างประเทศประจำปี 2557 [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 20 กรกฏาคม 2558, จาก : http://www.ocsb.go.th/th/cms/detail.php?ID=5538&SystemModuleKey=cuntry.
6.สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและนํ้าตาลทราย. (2558ข). รายงานพื้นที่การปลูกอ้อย ปีการผลิต 2557/58[ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 20 กรกฏาคม 2558, จาก : http://www.ocsb.go.th/upload/journal/fileupload/923-9810.pdf.
7.ASEAN Secretariat. (2013). ASEAN Statistics [online]. Retrieved July 21, 2014, from: http://www.asean. org/resources/2012-02-10-08-47-55/asean-statistics.
8.Berg, S. A., Førsund, F. R., Hjalmarsson, L. & Suominen, M. (1993). Banking efficiency in the Nordic countries. Journal of Banking and Finance,17(2-3), 371-388.
9.Oral, M. & Yolalan, R. (1990). An empirical study on measuring operating efficiency and profitability of bank branches. European Journal of Operational Research, 46(3), 282-294.
10.Padilla-Fernandez, M. D. & Nuthall, P. L. (2001). Farmers’ goals and efficiency in the production of sugar cane: The Philippine case [online]. Retrieved July 20, 2013, from: http://hdl.handle.net/10182/92.
11.Sherman, H. D. & Gold, F. (1985). Bank branch operating efficiency: Evaluation with Data Envelopment Analysis. Journal of Banking and Finance, 9(2), 297-315.
12.Townsend, R. F., Kirsten, J. & Vink, N. (1998). Farm size, productivity and returns to scale in agriculture revisited: A case study of wine producers in South Africa. Agricultural Economics, 19(1–2), 175-180.
13.Vassiloglou, M. & Giokas, D. (1990). A Study of the relative efficiency of bank branches: An application of Data Envelopment Analysis. The Journal of the Operational Research Society, 41(7), 591-597.