รูปแบบการเรียนรู้แบบนำตนเองวิชาฟิสิกส์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

Main Article Content

วิทยา วรพันธุ์
ประสาท เนืองเฉลิม
อมร มะลาศรี

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มุ่งนำเสนอผลการวิจัยเบื้องต้นของการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้แบบนำตนเองวิชาฟิสิกส์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย การวิจัยแบ่งเป็น 2 ระยะคือ การวิจัยระยะที่ 1 การศึกษาบริบท ความต้องการของสังคมและสภาพปัจจุบัน แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบนำตนเองวิชาฟิสิกส์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย การวิจัยระยะที่ 2 การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้แบบนำตนเองวิชาฟิสิกส์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการเรียนรู้แบบนำตนเอง วิชาฟิสิกส์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย มี 6 องค์ประกอบ คือ แนวคิดและทฤษฎี พื้นฐาน วัตถุประสงค์ ขั้นตอนการสอน ระบบสังคม หลักการตอบสนองและระบบสนับสนุน รูปแบบการเรียนรู้แบบนำตนเองวิชาฟิสิกส์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นวินิจฉัย ขั้นเสริมสร้างกลยุทธ์ ขั้นปลูกฝังนิสัย ขั้นปฏิบัติการ และขั้นสรุป และประเมินผล

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

1.กาญจนา จันทร์ประเสริฐ. (2554). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้แบบนำตนเองโดยใช้ปัญหาเป็นฐานในการสอนวิชาฟิสิกส์วิทยาศาสตร์ชีวภาพ. ปริญญานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต. สาขาวิชาการศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยรังสิต.
2.เขมณัฏฐ์ มิ่งศิริธรรม. (2552). การพัฒนารูปแบบการเรียนบนเว็บเชิงบูรณาการระหว่างการเรียนแบบร่วมมือกับการเรียนร่วมกันเพื่อส่งเสริมการเรียนด้วยการนำตนเองของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต คณะศึกษาศาสตร์. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย, สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
3.ฆนัท ธาตุทอง. (2554). สบายตามโมเดล รูปแบบการสอนเพื่อพัฒนาทักษะทางปัญญา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
4.นัดดา อังสุโวทัย. (2550). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนวิชาเคมีที่เน้นกระบวนการเรียนรู้แบบนำตนเองของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. ปริญญานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต.สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ศึกษา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
5.ประสาท เนืองเฉลิม. (2556). วิจัยการเรียนการสอน. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
6.ประสาท เนืองเฉลิม. (2558). การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
7.ลาวัณย์ ทองมนต์. (2550). การพัฒนาหลักสูตรเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยการนำตนเองของนักเรียนในระดับประถมศึกษา. ปริญญานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต.สาขาวิชาการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
8.วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21.กรุงเทพฯ : มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงษ์.
9.วีณา ประชากูล และประสาท เนืองเฉลิม. (2554). รูปแบบการเรียนการสอน. (พิมพ์ครั้งที่ 2).มหาสารคาม : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
10.สุระพรรณ พนมฤทธิ์ ศุกร์ใจ เจริญสุข และนันทิกา อนันต์ชัยพัทธนา. (2554). การเรียนรู้โดยการกำกับตนเองของนักศึกษาพยาบาลที่มีการรับรู้ความสามารถของตนเองแตกต่างกัน.การพยาบาลและการศึกษา, 4(2), 94-107.
11.สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2548). การคิดแก้ปัญหา [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 21 สิงหาคม 2555, จาก : http://www.ipst.ac.th/web/index.php.
12.สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2554). แนวทางการดำเนินงานเรียนฟรีเรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ 2554. กรุงเทพฯ : คุรุสภา.
13.สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
14.Carpenter, J. (2011). Self – Direction in The online and face to face classroom: A new look at Grow’s staged self-directed learning model. Dissertation for the Degree Doctor of Education. Northern Illinois University.
15.Daniels, E. B. (2011). The impact of an educational intervention on self-directed learning readiness and behaviors in undergraduate nursing students. Dissertation for the Degree Doctor of Philosophy. Capella University.
16.Hiemstra, R. (1994). Self - directed Learning. The International Encyclopediam of Education. (2nd ed.). Grate Britain: BPC Wheatons Ltd, Exeter.
17.Hall, J, D. (2011). Self-Directed Learning Characteristics of First-Generation, First-Year College Students Participating in a Summer Bridge Program. Dissertation Doctor of Education. University of South Florida.
18.Klotz, J. C. (2010). An Examination of the relationship between self-directed learning readiness and academic achievement in first semester college students. Dissertation for the Degree Doctor of Philosophy. Capella University.
19.Knowles, M. S. (1975). Self-Directed Learning: A Guide for Learners and Teachers. New York: Association Press.