ความสวยงามวางนัยทั่วไป : ความสัมพันธ์ทางพีชคณิต ระหว่างจำนวนที่เลขเรียงกันเพิ่มขึ้นจากเลขโดด 1 ไปทางขวากับจำนวนที่เลขเรียงกันลดลงจากเลขโดด 9 ไปทางขวา
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้นำเสนอการศึกษาและการหารูปทั่วไปของผลบวกของพหุคูณของเลขโดด 8 ด้วยจำนวนที่เลขเรียงกันเพิ่มขึ้นจากเลขโดด 1 ไปทางขวาถึงจำนวนเต็มบวกใดๆ กับจำนวนหลักแรกของจำนวนที่เลขเรียงกันข้างต้น จากการสังเกตความสัมพันธ์ทางพีชคณิตจากเว็บไซต์ http://darvish.wordpress.com ผลการศึกษาพบรูปทั่วไปของผลคูณดังกล่าว ดังนี้ (1→n)×8 + n = 9→(10 − n) สำหรับทุกจำนวนเต็มบวก n
Article Details
บท
บทความปริทัศน์
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการเผยแพร่ในวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลานี้ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาก่อนเท่านั้น
References
1.ณัฐวุฒิ พลอาสา และอัยเรศ เอี่ยมพันธ์ (2556). ความสวยงามวางนัยทั่วไป : การเริ่มต้นของกรุป ของจำนวนเศษเหลือ. วารสารนเรศวรพะเยา 6(1), 25-30.
2.อภิสิทธิ์ เมืองมา และอัยเรศ เอี่ยมพันธ์ (2556). ความสวยงามวางนัยทั่วไป : การนิยามจำนวนหลายหลักที่แต่ละหลักเป็นจำนวนเต็ม. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์, 8(2), 49-60.
3.อัยเรศ เอี่ยมพันธ์ (2554). ความสวยงามวางนัยทั่วไป : การยกกำลังสองของจำนวนที่ทุกหลักเป็นเลข 1. วารสารนเรศวรพะเยา, 4(2), 29-35.
4.Clark, W. E. (2002). Elementary Number Theory. University of South Florida: Department of Mathematics.
2.อภิสิทธิ์ เมืองมา และอัยเรศ เอี่ยมพันธ์ (2556). ความสวยงามวางนัยทั่วไป : การนิยามจำนวนหลายหลักที่แต่ละหลักเป็นจำนวนเต็ม. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์, 8(2), 49-60.
3.อัยเรศ เอี่ยมพันธ์ (2554). ความสวยงามวางนัยทั่วไป : การยกกำลังสองของจำนวนที่ทุกหลักเป็นเลข 1. วารสารนเรศวรพะเยา, 4(2), 29-35.
4.Clark, W. E. (2002). Elementary Number Theory. University of South Florida: Department of Mathematics.