ความเป็นมนุษย์ด้วยหลักไตรสิกขา

Main Article Content

สุทธิพร สายทอง

บทคัดย่อ

จากบทความนี้เพื่อศึกษาความเป็นมนุษย์ด้วยหลักไตรสิกขา จากศักยภาพสูงสุดของความเป็นมนุษย์ เป็น
กระบวนการหนึ่งผ่านการสร้างความสามารถจากหัวใจของมนุษย์ถือได้ว่า“คน” จึงเป็นต้นทุนสำคัญขององค์กรในการ
ทำให้องค์กรบรรลุเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ และตอบสนองต่อสภาพการเปลี่ยนแปลงที่ปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา การ
สร้างทุนมนุษย์ในองค์กร ผู้บริหารจึงต้องพัฒนาความรู้ขั้นสูงอย่างต่อเนื่องทัง! ด้านทักษะ และประสบการณ์ในการ
ทำงานโดย การจำแนก การสรรหาและการคัดเลือกคนทีม$ ีความรู้ความสามารถสูงสำหรับการทำงานขณะเดียวกัน
ผู้บริหารต้องเป็นผู้ทีม$ ีความรู้ความเข้าใจกระบวนการพัฒนาทุนมนุษย์ทีด$ ีพอเพื$อให้การพัฒนาทุนมนุษย์ เป็นไปได้โดย
ถูกทิศทางและสามารถดึงศักยภาพทุนมนุษย์ในองค์การออกมาใช้ผลิตผลงานได้อย่างเต็มที $ เพราะการพัฒนาทุนมนุษย์
คือการพัฒนาด้านความรู้ ทักษะและความสามารถของแต่ละบุคคลที $ นำมาสู่การสร้างคุณค่าให้กับองค์กร เนื$องจาก
หลักไตรสิกขา ถือได้ว่า เป็นหัวใจหลักของทุนมนุษย์และเป็นแกนหลักหรือหัวใจของ พระพุทธศาสนา และเป็น
ภูมิคุ้มกันให้มนุษย์ยืนอยู่บนหลักการทีส$ ำคัญ 3 ประการคือ 1) การมีศีล ได้แก่ การปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบด้วยใจ 2) การมี
สมาธิ ได้แก่การปฏิบัติงานอย่าง มุ่งมัน$ และ 3) การมีปัญญา ได้แก่การรู้เป็นระบบ รู้รอบ

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

จำนงค์ อดิวัฒนสิทธิ.g สังคมวิทยาตามแนวพุทธศาสตร์. พิมพ์ครัง! ที $ 2. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2548.
______. ศาสนา ชีวิตและสังคม. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์สุขภาพใจ, 2547.
ธงชัย สันติวงษ์. การบริหารทุนมนุษย์. กรุงเทพมหานคร: ประชุมช่าง, 2546.
บุญทัน ดอกไธสง. การบริหารเชิงพุทธ. กรุงเทพมหานคร: บพิธการพิมพ์, 2528.
______. การบริหารเพืAอสร้างสรรค์ KSM Model. กรุงเทพมหานคร: บพิธการพิมพ์, 2532.
______. การจัดการทุนมนุษย์. กรุงเทพมหานคร: พิมพ์ตะวัน, 2551.
บุญมี แท่นแก้ว. ญาณวิทยา. กรุงเทพมหานคร: ธนะการพิมพ์, 2535.
พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). การศึกษาเพืAอสร้างศาสนทายาท. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหา
จุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย, 2549.
ประภาศรี ศรีหล้าไพ. พืนP ฐานการศึกษาทางศาสนาและจริยธรรม. พิมพ์ครัง! ที $ 4. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550.
พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). ศาสนาและเยาวชน. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิพุทธธรรม, 2532.
พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตโต). วิธีคิดตามหลักพุทธธรรม. พิมพ์ครัง! ที $ 5. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ศยาม,
2542.
พระไพศาล วิศาโล. พุทธศาสนาไทยในอนาคต แนวโน้มและทางออกจากวิกฤต. พิมพ์ครัง! ที $ 2.
กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิโกมลคีมทอง, 2552.
พุทธทาสภิกขุ. คู่มือมนุษย์. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา, 2501.
สุจิตรา บุณยรัตนพันธุ์. ระเบียบวิธีวิจัยสำหรับรัฐประศาสนศาสตร์. พิมพ์ครัง! ที $ 2. กรุงเทพมหานคร: สถาบัน
บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ คณะรัฐประศาสนศาสตร์, 2535.
สุชีพ ปุญญานุภาพ. คุณลักษณะพิเศษแห่งพระพุทธศาสนา. กรุงเทพมหานคร: มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2533.
สุชีพ ปุญญานุภาพ. พระไตรปิ ฎก ฉบับประชาชน. พิมพ์ครัง! ที $ 16. กรุงเทพมหานคร: สมาคมนักศึกษาเก่า
พาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2539.
เสฐียรพงษ์ วรรณปก. คำบรรยายพระไตรปิ ฎก. พิมพ์ครัง! ที $ 6. กรุงเทพมหานคร: สถาบันบันลือธรรม, 2553.
อภิชัย พันธเสน. พุทธเศรษฐศาสตร์: วิวัฒนาการ ทฤษฎี และการประยุกต์กับเศรษฐศาสตร์สาขาต่างๆ.
กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์อมรินทร์พริน! ติง! , 2544.