สตรีนิยมในมิติเศรษฐศาสตร์แนวพุทธ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การแข่งขันกันบริโภคหรือบริโภคเพื'อหน้าตา หรือบริโภคด้วยการถูกชักนำด้วยสื'อกระแสหลัก ซึ'งได้ใช้
กลยุทธ์ทางการตลาด โดยพืน7 ฐานพุทธศาสนาไม่ได้ปฏิเสธความมัง' คัง' (wealth) หรือระบุว่าความมัง' คัง' เป็นความชัว' ร้ายในสองเหตุผลก็คือ หนึ'ง ความมัง' คัง' ทางวัตถุสามารถป้องกันเราจากความลำบากและความยากจน และสองช่วยเหลือ
มนุษย์ในการพัฒนาความเมตตา-กรุณา ถือเป็นกุศลจิต และทำให้สังคมมีความสุขยง'ิ ๆ ขึน7 ไป เพราะความสุขทีแ' ท้จริง
มิได้เกิดจากการบริโภควัตถุแต่อย่างใด หากแต่เกิดขึ7นจากสภาวะของจิตใจภายใน จากมุมมองของพุทธศาสนา
คุณประโยชน์ของเศรษฐศาสตร์ และการพัฒนาเชิงวัตถุนัน7 ก็เป็นเพียงแต่การนำเสนอปัจจัยในการดำรงชีวิต เพื'อทีจ' ะ
อำนวยให้มนุษย์นัน7 สามารถใช้เวลา และพลังงานในการลงมือปฏิบัติและพัฒนาทางจิตยง'ิ ๆ ขึน7 ไป การพัฒนาและการ
ถือกำเนิดของดัชนีทีเ' ป็นความสุขแห่งชาติ (gross national happiness) (GNH) หรือดัชนีในลักษณะเดียวกัน ใน
อนาคตมีเพียงจะก่อคุณูปการเฉพาะในแง่มุมทางเศรษฐศาสตร์เท่านั7น แต่ดัชนีดังกล่าว อาจจะเป็นคำตอบของ
ความหมายแห่งการมีชีวิตและความอยู่รอดของมนุษยชาตินัน' เลยทีเดียว
Article Details
References
(30 พฤษภาคม 2552).
พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). พุทธศาสนากับสังคมไทย. พิมพ์ครัง7 ที ' 2. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิ
โกมลคีมทอง, 2532.
Dalai Lama, His Holiness the Ethical Economics. Mindfulness in the Marketplace: Compassionate
Responses to Consumerism. A. H. Badiner. Berkeley. 2002.
Inoue, Shinichi. A New Economics to Save the Earth: A Buddhist Perspective. Mindfulness in the
Marketplace: Compassionate Responses to Consumerism. A. H. Badiner. Berkeley. 2002.
Julie A. Nelson. The Relational Economy: A Buddhist and Feminist Analysis. Global Development and
Environment Institute Working Paper, 2010, No. 10-03.
Laszlo Zsolnai. Buddhist Economics for Business. Business Ethics Center Corvinus University of
Budapest. 2009.
Watts, Jonathan and David R. Loy. The Religion of Consumption: A Buddhist Perspective. Mindfulness in
the Marketplace: Compassionate Responses to Consumerism. A. H. Badiner. Berkeley. 2002.