ลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์

Main Article Content

พระมหาภาณุวัฒน์ แสนคำ

บทคัดย่อ

คำว่า “บัณฑิต” มาจากภาษาบาลีว่า “ปัณฑิตา” ซึ.งแปลว่า ผู้ดำเนินชีวิตด้วยปัญญา ซึ.งตรงข้ามกับคำว่า
“พาล” (พาลา พาโล) ทีแ. ปลว่าคนโง่ หรือคนทีด. ำเนินชีวิตด้วยตัณหา โดยทัว. ไปแล้ว คุณค่าและความสำคัญของบัณฑิต
ทางโลกจะถูกวัดด้วยใบปริญญาทีจ. ะนำไปเป็นเครื.องมือสำหรับการันตีเพื.อเป็นใบเบิกทางในการแสวงหาอาชีพ และ
วัตถุเพื.อเลียC งปากเลียC งท้อง ฉะนันC หากจะกล่าวว่าบัณฑิตหมายถึงผู้ฉลาด คำว่า ฉลาดในบริบททางโลกย่อมหมายถึง
ความฉลาดในการใช้ความรู้เพื.อเอาตัวรอดโดยการแสวงหาปัจจัยสีม. าเป็นเครื.องมือหล่อเลียC งร่างกาย แต่เมื.อกล่าวถึง
“บัณฑิตในทางธรรม” ย่อมมีนัยทีล. ึกซึงC มากยง.ิ ขึนC เพราะบัณฑิตในบริบทนีC แม้จะหมายถึง “ความฉลาด” เช่นเดียวกัน
แต่เป็นความฉลาดทางปัญญา ทีไ. ม่ได้หมายถึงการเอาตัวรอดทางกายภาพเท่านันC หากแต่เป็นการพาตัวเองให้หลุดพ้น
จากกับดักของ “โลกธรรม” ทีม. นุษย์กำลังเผชิญหน้าในทุกขณะของการดำเนินชีวิตและการทำงาน
การศึกษาเรื.อง “ลักษณะของบัณฑิตทีพ. ึงประสงค์” นีC มีวัตถุประสงค์เพื.อศึกษาและอธิบายถึงลักษณะของ
บัณฑิตทีด. ี บัณฑิตกับการมีจริยธรรม บัณฑิตกับการมีความรู้ บัณฑิตกับการมีความคิด บัณฑิตกับการอยู่ร่วมกับบุคคล
อื.นในสังคม บัณฑิตกับการสือ. สารให้คนอื.นเข้าใจ ความเป็นสังคมชุมชนวิชาการ บัณฑิตกับการสมาคมในสังคมชุมชน
วิชาการ รวมถึงยังได้กล่าวถึงการสัง. สอนและอบรมบัณฑิตทีด. ีว่าควรทำอย่างไร การคิด พูด อ่าน เขียนของบัณฑิตและ
การทำตนให้เป็นทีย. อมรับในสังคมชุมชนวิชาการ

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). “รวมบทความวิทยานิพนธ์ ระดับพุทธศาสตรมหาบัณฑิต และพุทธ
ศาสตรดุษฎีบัณฑิต”. กรุงเทพมหานคร: หอไตรการพิมพ์, 2553.
.“หลักการและวิธีการเทศน์”. พิมพ์ครังC ที . 2. กรุงเทพมหานคร: หจก. สามลดา, 2555.
มหามกุฏราชวิทยาลัย. มูลนิธิ.พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย,
2525.
สม สุจีรา. “ไอน์สไตน์พบ พระพุทธเจ้าเห็น II”. พิมพ์ครังC ที . 21. กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์ธรรมะ, 2554.
สุภาภรณ์ โกสีย์. บัณฑิตทีพึงประสงค์. มหาวิทยาลัยหาดใหญ่, 2550.