พุทธธรรมในการบริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

Main Article Content

ธนกร น้อยทองเล็ก

บทคัดย่อ

            ผู้บริหารที่ดีต้องมีหลักพุทธธรรมที่ใช้ในการวางกรอบบริหารบ้านเมือง พรหมวิหาร 4 ถือว่าเป็นหลักธรรมที่ผู้บริหารที่ดีพึงมี และนำพาองค์กรไปสู่เป้าหมายที่องค์กรวางไว้ ในส่วนของบุคลากร ก็ต้องมี พรหมวิหาร 4 เช่นกัน การที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จะขับเคลื่อนได้ ทุกคนต้องร่วมกันขับเคลื่อนองค์กร ดังนั้นกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย จึงได้จัดมาตรฐานการบริหาร นำหลักธรรมมาปลูกฝังให้บุคลากรขององค์กรเกิดการเรียนรู้ ตลอดจนส่งเสริมให้ประชาชนในท้องถิ่นจัดการเรื่องของตนเอง จะทำให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถบริหารย่างมีคุณภาพนำประสิทธิภาพการบริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ จะเป็นผลดีต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยตุโตฺ ). ธรรมนูญชีวิต. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์การศาสนา, 2547.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2539.
สมคิด เลิศไพฑูรย์. “การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนกับองค์กรอิสระในการสร้างธรรมาภิบาล”.เอกสารประกอบการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ คณะกรรมการองค์กรอิสระ ประจำปี 2547. กรุงเทพมหานคร, 8-10 ตุลาคม 2547.
อุทัย หิรัญโต. การปกครองท้องถิ่น. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์, 2523.
เอนก เหล่าธรรมทัศน์. เหตุอยู่ที่ท้องถิ่น ปัญหาการเมืองการปกครองระดับชาติที่มีสาเหตุมาจากการปกครองท้องถิ่นที่ไม่พอเพียง. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ศึกษาและพัฒนาท้องถิ่น.มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2543.
Harris G. Mongtagu. Comparative Local Government. Great Britain: Wiliam Brendon and Son Ltdl, 1984.
Holloway V. William. State and Local Government in the United States. New York : McGraw-Hill, 1959.
Robson A. William. Local government in Encyclopedia of Social Science. Vol. X New York: The Macmillan Company, 1953.
Wit A. Daniel. Comparative Survey of Local Govt. and Administration.Bangkok: Kurusapha Press, 1967.