วัฒนธรรมทางการเมืองไทยและบทบาทของทหารกับการเมือง
Main Article Content
บทคัดย่อ
วัฒนธรรมการเมืองไทยได้รับอิทธิพลมาจากระบอบการปกครองในอดีต อีกทัง้ ยังมีการผสมระหว่าง
ความเป็นอิสระนิยมกับอา นาจนิยม กล่าวคือ คนไทยมีลักษณะอิสรเสรี ไม่ชอบอยู่ภายใต้การบังคับ และมักใช้
เสรีภาพเกินขอบเขต ขาดความรับผิดชอบ ในขณะเดียวกันคนไทยยังถูกครอบงาด้วยวัฒนธรรมแบบอานาจ
นิยมที่ยกย่องผู้มีอานาจเหนือกว่า ลักษณะดังกล่าวเมื่อเกิดขึ้นในระบบการเมืองจึงทา ให้เป็นเครื่องมือของผู้ที่
แย่งชิงอานาจ นาไปสู่วิกฤตการณ์ทางการเมือง โดยวัฒนธรรมแบบอานาจนิยมจะทาให้คนไทยเรียกร้องให้
กลุ่มคนที่มีอา นาจออกมาแก้ไขปัญหาไม่ว่าด้วยวิธีใดก็ตามจึงเป็นโอกาสให้ทหารที่จัดว่าเป็นองค์กรที่มีอา นาจ
มากเข้ามาควบคุม จัดการในรูปแบบของการกระทารัฐประหารด้วยเหตุผลว่าเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อย
และความมัน่ คงของประเทศชาติในแต่ละยุคสมัย โดยแสดงออกในบทบาทของผู้ไกล่เกลี่ย ผู้พิทักษ์และ
ผู้ปกครอง อย่างไรก็ตามการรัฐประหารในแต่ละครั้งทาให้เกิดการเมืองเกิดภาวการณ์ชะงักงัน และเป็น
อุปสรรคต่อการพัฒนาระบอบประชาธิปไตย หากต้องการพัฒนารูปแบบการเมืองการปกครองของไทยให้เป็น
ประชาธิปไตยโดยสมบูรณ์นั้น จะต้องปลูกฝังและส่งเสริมหลักประชาธิปไตยที่ถูกต้องให้แก่ประชาชนในสังคม
รวมถึงทหารต้องมีความเป็นทหารอาชีพและต้องยุติการเข้าแทรกแซงหรือมีบทบาททางการเมือง ทหารต้อง
รู้จักหน้าที่ความรับผิดชอบในขอบเขตของตนโดยไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับการตัดสินใจทางการเมืองซึ่งถือเป็น
หน้าที่ของฝ่ ายพลเรือน อีกทั้งการปรับทัศนคติการทางานร่วมกันระหว่างฝ่ ายทหารและฝ่ ายพลเรือน โดย
คา นึงถึงพันธกิจและบทบาทหน้าที่ของตนเป็นสงิ่ สา คัญเพื่อให้ประเทศชาติพัฒนาไปอย่างมีเสถียรภาพ
Article Details
References
นคร: ไทยวัฒนาพานิช, 2514
ชาดา นนทวัฒน์. กบฏแผ่นดินแย่งชิงอา นาจ. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ยิปซี กรปุ๊ จา กัด, 2552
ชา นาญ จันทร์เรือง. วัฒนธรรมทางการเมืองของไทย. 2559. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2563. จาก
เว็บไซต์ https://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/637713
ทิวากร แก้วมณี. แนวคิดวัฒนธรรมการเมือง: จาก Civic Culture สู่ Bowling Alone Political Culture:
From Civic Culture to Bowling Alone. 2553. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2563. จาก
เว็บไซต์ http://oknation.nationtv.tv/blog/dhiwakorn/2010/10/05/entry-1
นิธิ เอียวศรีวงศ์. “วัฒนธรรมทางการเมืองไทย”. เอกสารการประชุมวิชาการวัฒนธรรมการเมือง จริยธรรม
และการปกครอง. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพระปกเกล้า, 2550
นิธิ เอียวศรีวงศ์. ชาติไทย เมืองไทย แบบเรียนและอนุสาวรีย์: ว่าด้วยวัฒนธรรม. รัฐ และรูปการ
จิตสานึก. กรุงเทพมหานคร: มติชน, 2538
พัทยา สายหู. การใช้แบบความคิดเรื่อง “วัฒนธรรม” ในการพัฒนาประเทศ ใน ประวัติศาสตร์และ
วัฒนธรรม. กรุงเทพมหานคร: สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย, 2514
รุจิโรจน์ สายสมบัติ. ทหารกับประชาธิปไตย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. กรุงเทพมหานคร:
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542
ลิขิต ธีรเวคิน. คนไทยในอุดมคติ. กรุงเทพมหานคร: แม๊ค, 2548
ลิขิต ธีรเวคิน. วัฒนธรรมทางการเมืองและการกล่อมเกลาเรียนรู้ทางการเมือง. กรุงเทพมหานคร:
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2529
สุขุม ธนพงศ์พิพัฒน์. ปัจจัยที่เอื้ออา นวยต่อการทา รัฐประหารของทหารไทยระหว่าง พ.ศ. 2500-2534.
วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539
สุจิต บุญบงการ. การพัฒนาทางการเมืองของไทย: ปฏิสัมพันธ์ระหว่างทหาร สถาบันทางการเมืองและ
การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, 2542
สุจิต บุญบงการ. ทหารกับการพัฒนาการเมืองไทย. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิเพื่อการศึกษาประชาธิปไตย
และการพัฒนา โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, 2562
สุรชาติ บารุงสุข. ไตรสรณคมน์ทหาร รัฐประหาร และการเมืองไทย. กรุงเทพมหานคร:สถาบันปรีดี พนม
ยงค์, 2551
สุรชาติ บารุงสุข. ทหารกับประชาธิปไตย: จาก 14 ตุลาฯ สู่ปัจจุบันและอนาคต. กรุงเทพมหานคร:
ศูนย์วิจัยและผลิตตารา มหาวิทยาลัยเกริก, 2541
อุไรวรรณ ธนสถิต. วัฒนธรรมการเมืองแบบประชาธิปไตย. วารสารสถาบันพระปกเกล้า. 2552. 7(3), 1
Almond. Gabriel & Verba, Sidney. The Civic Culture. Princeton: Princeton University Press, 1972
Almond, Gabriel. Comparative Politics Systems. The Journal of Politics, 1956, 18(3), pp. 391-409.
Lucian W.Pye. Aspects of Political Development. Boston and Toronto: Little Brown & Company,
1966
Surachart Bumrungsuk. United States Foreign Policy and Thai Military Rule. 1947-1977. Master of
Arts Thesis Cornell University, 1985