ความหลากหลายทางภาษาในสังคมไทย

Main Article Content

บัณฑิกา จารุมา
สมคิด นันต๊ะ

บทคัดย่อ

               บทความนี้มุ่งเสนอความหลากหลายทางภาษาในสังคมไทยซึ่งแบ่งได้เป็น 4 แบบ ได้แก่ 1) แบ่งตามรูปแบบของภาษา คือ วัจนภาษาและอวัจนภาษา 2) แบ่งตามความสัมพันธ์กับชาติพันธุ์ คือ ภาษาตระกูลต่างๆ ในประเทศไทย 3) แบ่งตามความสัมพันธ์กับหน้าที่ของภาษาในสังคม คือ ภาษาย่อยในภาษาไทย และ4) แบ่งตามความสัมพันธ์กับชนชั้น คือ ภาษากับระดับชั้นในสังคม โดยในแต่ละแบบมีประเภทย่อยซึ่งขึ้นอยู่กับบริบททางสังคม จุดมุ่งหมายของการใช้ภาษา ฐานะของผู้ใช้ภาษาและกาลเทศะ ดังนั้น จึงกล่าวได้ว่าความหลากหลายของภาษาเป็นผลจากความหลากหลายทางวัฒนธรรมของสังคมไทย

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ชนกพร อังศุวิริย. ภาษากับสังคม. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์, 2559
ดียู ศรีนราวัฒน์. ภาษาและภาษาศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2559
ธนานันท์ ตรงดี และคณะ. วัฒนธรรมการใช้ภาษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. มหาสารคาม: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2549
วิไลศักดิ์ กิ่งคา. ภาษาไทยถิ่น. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556
ศูนย์สนเทศเสียงไทย. ภาษาย่อยของภาษาไทย. ม.ป.ป.. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 มกราคม 2563. จากเว็บไซต์ https://thaiarc.tu.ac.th/folktales/reference/thaivar.htm, ย่อหน้าที่ 1-4
สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน. ความหมายของชาติพันธุ์. ม.ป.ป.. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 มกราคม 2563. จากเว็บไซต์ http://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=23&chap=5&page=t23-5-infodetail01.html, ย่อหน้าที่ 5-6
สุปรีดี สุวรรณบูรณ์. ภาษามาตรฐาน. ม.ป.ป.. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 มกราคม 2563. จากเว็บไซต์ http://www.ipesp.ac.th/learning/thai/chapter4-8.html, หน้า 1
สุวิไล เปรมศรีรัตน์. สถานการณ์ทางภาษาในสังคมไทยกับความหลากหลายทางชาติพันธุ์. วารสารภาษาและวัฒนธรรม. 2549. 25(2). หน้า 5 – 17