การศึกษาคุณค่าของศิลปะปูนปั้นภายในวัดตามการรับรู้ของคน ในจังหวัดลำปาง

Main Article Content

พระครูสังฆรักษ์ศุภณัฐ ภูริวฑฺฒโน
พระพิษณุพล รูปทอง

บทคัดย่อ

              การวิจัยเรื่องการศึกษาคุณค่าของศิลปะปูนปั้นภายในวัดตามการรับรู้ของคนในจังหวัดลาปาง มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาการรับรู้คุณค่าของศิลปะปูนปั้นภายในวัดของประชาชนจังหวัดลาปาง 2) เพื่อศึกษาแนวการสร้างคุณค่าและมูลค่าทางวัฒนธรรมของศิลปะปูนปั้นภายในวัดของประชาชนจังหวัดลาปาง การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใช้แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structure Interview) ผลการวิจัย พบว่า ศิลปะปูนปั้นแสดงถึงออกถึงความสามารถและภูมิปัญญาของผู้สร้าง โดยใช้ภูมิปัญญาที่ตนเองหรือบรรพบุรุษสืบต่อกันมา นามาสอดแทรกความคิดสร้างสรรค์ ตลอดจนความเชื่อ และหลักคาสอนทางพระพุทธศาสนา ทั้งในส่วนของรูปปริศนาธรรม หรือรูปทรงแปลกๆ เรื่องราวต่างๆ โดยส่วนใหญ่มีคติความเชื่อในทางพระพุทธศาสนา การสร้างสรรค์งานศิลปะปูนปั้น เป็นการสะท้อนให้เห็นถึงคุณค่าทางด้านศาสนา และภาพสัตว์ต่างๆ ที่นามาปั้นประกอบกับเทวดา เช่น ยักษ์ พระอิศวร พระอินทร์ พระพรหม พระนารายณ์ สัตว์ในนวนิยายในป่าหิมพานต์ การสร้างคุณค่าทางวัฒนธรรมของศิลปะปูนปั้น สามารถสรุปได้ 6 ด้านด้วยกัน คือ ด้านศิลปกรรม ด้านจิตรกรรม ด้านประติมากรรม ด้านสถาปัตยกรรม ด้านวรรณกรรม และด้านวัฒนธรรม การสร้างมูลค่าทางวัฒนธรรม ของศิลปะปูนปั้น อันก่อให้เกิดเป็นมูลค่าหรือราคาในการสร้างสรรค์งานปูนปั้น โดยได้กาหนดแนวทางในการสร้างมูลค่าไว้ 3 ด้าน ดังนี้ ด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยว การสร้างรายได้ การฝึกอบรม

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

เขมชาติ วงศ์ทิมารัตน์. คุณค่าและเอกลักษณ์ของคลองและชุมชนริมคลองบางกอกใหญ่. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2546.
คณะกรรมการอานวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดลาปาง. กรุงเทพมหานคร: คณะกรรมการอานวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. 2542.
น.ณ ปากน้า. ยุคทองแห่งศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์. วารสารเมืองโบราณ. 8 (2525): หน้า 3
บัวไทย แจ่มจันทร์. ปูนปั้นลงสีที่วัดปากลองเพชรบุ. ศิลปวัฒนธรรม. 7 (2529): หน้า 15.
ปฤณัต แสงสว่าง. การศึกษาคุณค่าศิลปะปูนปั้นไทยตามทัศนะผู้เชี่ยวชาญงานปูนปั้น และนักศึกษาโปรแกรมวิชาศิลปกรรม ระดับปริญญาบัณฑิต ในสถาบันราชภัฏ. วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาศิลปศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2541
ศรีใจ กันทะวัง. ความรู้สึกดีงามในลวดลายพุทธศิลป์ล้านนา. ศิลปะมหาบัณฑิต (จิตรกรรม) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2552
ศักดา บุญยืด. การศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณค่าศิลปะไม้แกะสลักในหอไตรภาคอีสานตอนล่างของผู้เชี่ยวชาญ อาจารย์ และนักศึกษาระดับปริญญาตรี โปรแกรมวิชาศิลปศึกษา สถาบันราชภัฏอุบลราชธานี, วิทยานิพนธ์ปริญญาตรี โปรแกรมวิชาศิลปศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2546.
ศักดิ์ชัย เกียรตินาคินทร์. ความสัมพันธ์ระหว่างคุณค่าศิลปกรรมกับการสร้างทัศนคติต่อตนเองและความผูกพันกับชุมชน. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สิราภรณ์ สีหนันทวงศ์. การศึกษาเพื่อเสนอแนะความคิดในการอนุรักษ์สิมพื้นบ้านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2543.