พุทธทายาทกับสังคมไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
การเผยแพร่พระพุทธศาสนาในสังคมไทยยังคงมีความจาเป็นในการเสริมสร้างการตระหนักรู้ การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมของคนในชุมชน การเสริมสร้างความเลื่อมใสศรัทธาของประชาชนที่มีต่อพระพุทธศาสนาพระสงฆ์ได้รับการศึกษาให้ทันสมัยอยู่เสมอ เพื่อที่จะได้มีความรู้ เผยแพร่หลักธรรมคาสอนให้กับพุทธศาสนิกชน จากบทบาทของพระสงฆ์ที่ช่วยเหลือสังคมมากขึ้น มีการเผยแพร่พระพุทธศาสนาโดยใช้หลักธัมมิกสังคมในการเผยแพร่หลักธรรมแต่ยังคงขาดการบูรณาการของบ้าน วัด โรงเรียน อย่างสม่าเสมอ จึงทาให้ความศรัทธาของคนในชุมชนที่มีต่อพระสงฆ์ลดลง อันเกิดจากพุทธพาณิชย์ที่ทาให้วัดไม่มีส่วนร่วมกับชุมชนเท่าที่ควร
Article Details
How to Cite
บท
บทความวิชาการ
References
นิธิ เอียวศรีวงศ์. ชาติไทย, เมืองไทย, แบบเรียนและอนุเสาวรีย์. กรุงเทพมหานคร: มติชน. 2538.
ป.อ.ปยุตฺโต. พระเทพเวที. ความสาคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะศาสนาประจาชาติ. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิพุทธธรม. 2532.
พุทธทาสภิกขุ. ธรรมิกสังคมนิยม. กรุงเทพมหานคร: แพร่พิทยา. 2517.
พระไพศาล วิสาโล. พุทธศาสนาไทยในอนาคต แนวโน้มและทางออกจากวิกฤต. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธีโกมลคีมทอง. 2552.
อรุณ เวชสุวรรณ. บทบาทของนักเผยแพร่พุทธศาสนาในสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: แพร่พิทยา. 2514.
ป.อ.ปยุตฺโต. พระเทพเวที. ความสาคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะศาสนาประจาชาติ. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิพุทธธรม. 2532.
พุทธทาสภิกขุ. ธรรมิกสังคมนิยม. กรุงเทพมหานคร: แพร่พิทยา. 2517.
พระไพศาล วิสาโล. พุทธศาสนาไทยในอนาคต แนวโน้มและทางออกจากวิกฤต. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธีโกมลคีมทอง. 2552.
อรุณ เวชสุวรรณ. บทบาทของนักเผยแพร่พุทธศาสนาในสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: แพร่พิทยา. 2514.