แนวคิดเศรษฐกิจชุมชน: เหลียวหลัง แลหน้า นำพาเศรษฐกิจชุมชนสู่ทางรอด
Main Article Content
บทคัดย่อ
ภาวะวิกฤติเศรษฐกิจตั้งแต่กลางปี 2540 และพระราชดำรัสของในหลวง ประกอบกับปรัชญาของแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 8 เน้นการพัฒนา “คน” และรัฐธรรมนูญใหม่ที่ให้ความสำคัญต่อ “ชุมชนท้องถิ่น” ได้สร้างกระแสอย่างกว้างขวางให้สังคมกลับมาทบทวนแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะเศรษฐกิจชุมชนของชุมชนในชนบท ในช่วงปี 50 ปีที่ผ่านมา การพัฒนาประเทศไม่ได้สร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจให้แก่ชุมชนท้องถิ่นในชนบท หรือ “เศรษฐกิจของฐานล่าง” ซึ่งเป็นเศรษฐกิจของประชากรส่วนใหญ่ จึงมีส่วนสำคัญยิ่งต่อความยั่งยืนของการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยรวม
ดังนั้น เศรษฐกิจชุมชนเป็นส่วนหนึ่งของเศรษฐกิจของชาติ เพื่อให้เศรษฐกิจของชาติมีความเจริญ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องพัฒนาเศรษฐกิจในระดับล่าง คือเศรษฐกิจชุมชน เศรษฐกิจชุมชนเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการดำเนินกิจการทางเศรษฐกิจต่างๆ ทั้งด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม บริการ ด้านการผลิต การบริโภค และการกระจายผลผลิต โดยให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจชุมชน คือ การมีส่วนร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมตัดสินใจ และร่วมรับประโยชน์ บนฐานรากของความสามารถ ศักยภาพของชุมชนที่อยู่ จากการใช้ทุนในสังคมตนเองที่มีอยู่หรือสามารถจัดหาได้ตามศักยภาพที่ตนเองมีอยู่
Article Details
References
2541.
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย. แนวทางและหลักเกณฑ์การคัดสรรสุดยอดหนึBงตำบลหนึBงผลิตภัณฑ์ไทย ปี พ.ศ. 2552
(OTOP PRODUCT CHAMPION). กรุงเทพมหานคร: บีทีเอสเพรส, 2552.
ฉัตรทิพย์ นาถสุภา. แนวคิดเศรษฐกิจชุมชนเสนอทางทฤษฎีในบริบทต่างสังคม. กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์พริน' ติ'งแอนพลับลิชชง?ิ ,
2544.
ชลิดา เพียรสร้าง. รายงานการวิจัยอิสระ เรืBอง การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง กรณีศึกษา:อำเภอ
สุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด. รายงานวิจัยอิสระ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2554.
ณรงค์ โชควัฒนา. เศรษฐกิจชุมชน. กรุงเทพมหานคร: บรรณสาส์นการพิมพ์. 2542.
ประทีป วีรพัฒนนิรันดร์. มูลนิธิพลังนิ เวศและชุมชน. เศรษฐกิจชุมชน: ความหมายฐานคิด แนวทางปฏิบัติ. 2541. ค้นเมือ? 20
มิถุนายน 2559, จาก http://sites.google.com/site/banrainarao/column/commu_econ_02
ประเวศ วะสี. การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทยเพBือการพัฒนา. ชุมชนพัฒนา ปีที ? 1 ฉบับที ? 5. 2530.
ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม. แนวคิดเกีBยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน. กรุงเทพมหานคร: เอดิสันเพรส โปรดักส์, 2542.
ภัทรธิรา ผลงาม. ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์. เลย: รุ่งแสงธุรกิจการพิมพ์, 2547.
มงคล ด่านธานินทร์. เศรษฐกิจชุมชนเชิงระบบ: หลักการและแนวการปฏิบัติในเศรษฐกิจชุมชนพึBงตนเอง: แนวความคิดและ
ยุทธศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงมหาดไทย กรมการปกครอง, 2541.
มงคล ด่านธานินทร์. เศรษฐกิจชุมชนพึBงตนเองเชิงระบบ. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชัน, 2541.
เมธี พยอมยงค์. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2545. 14 กันยายน 2545.
ยศ สันตสมบัติ. ความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถBินเพBือการพัฒนาอย่างยังB ยืน. ภาควิชาสังคมวิทยาและ
มานุษยวิทยา และศูนย์ศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ และภูมิปัญญาท้องถน?ิ เพือ? การพัฒนาอย่างยัง? ยืน คณะสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. จังหวัดเชียงใหม่: สำนักพิมพ์นพบุรีการพิมพ์, 2542.
สมพันธ์ เตชะอธิก. การวิจัยเพืBอเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ใน เอกสารประกอบการเสวนา ทางวิชาการ เรืBอง “การวิจัย
เศรษฐกิจชุมชนท้องถิBน : ภาคเหนือ”. จัดโดยคณะกรรมการ สภาวิจัยแห่งชาติ สาขาเศรษฐศาสตร์ และสำนักงาน
คณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ ร่วมกับคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร วันพฤหัสบดีที ? 4 กรกฎาคม
2545 ณ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
สังสิต พิริยะรังสรรค์. เศรษฐกิจชุมชนพBึงตนเองฉบับหมาดไทย: ประเทศยากจนประชาชนมังB คังB . ในเศรษฐกิจชุมชนพึง? ตนเอง:
แนวความคิดและยุทธศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงมหาดไทย กรมการปกครอง, 2541.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. 2541.
สุเทพ พันประสิทธิ.l เอกสารคำสอนวิชา “เศรษฐกิจพอเพียง”. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, 2555.
โสภณ สุภาพงษ์. เศรษฐกิจพอเพียงทางรอดสังคมไทย. นิตยสารสารคดีครอบครัว (กันยายน) 2541)