การแปลงเพศในบริบทของความหลากหลาย ทางเพศกับมุมมองที่เห็นต่างระหว่างวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์
Main Article Content
บทคัดย่อ
การแปลงเพศในบริบทของความหลากหลายทางเพศกับมุมมองที่เห็นต่างระหว่างวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษามุมมองทางด้านสังคมที่สะท้อนลักษณะคำอธิบายที่ว่าด้วยเรื่องของการแปลงเพศ ซึ่งในที่นี้จะเน้นเฉพาะการเปลี่ยนแปลงของเพศชายที่เปลี่ยนมาเป็นเพศหญิงว่าสังคมนั้นมีความคิดเห็นอย่างไรในการที่บุคคลหนึ่งซึ่งเป็นเพศชายแล้วได้ผ่านการศัลยกรรมการแปลงเพศให้เป็นเพศหญิง กรอบแนวคิดที่ใช้ศึกษาในเรื่องนี้ก็จะใช้ประเด็นการอธิบายโดยใช้การอธิบายตามกรอบวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ว่าทั้งสองแนวคิดนี้ได้ให้คำอธิบายเกี่ยวกับการแปลงเพศของผู้ชายให้เป็นผู้หญิงว่ามีความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง
Article Details
How to Cite
บท
บทความวิชาการ
References
กฤตยา อาชวนิจกุล. จินตนาการใหม่ทางสังคมวิทยา : การประชุมปฏิบัติการ. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2554.
ธเนศ วงศ์ยานนาวา. เพศ: จากธรรมชาติ สู่จริยธรรม จนถึงสุนทรียะ. กรุงเทพมหานคร: มติชน, 2551.
นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ. ความเข้าใจเรอื งเพศ จากแนวคิดทีหลากหลาย. ค้นเมื(อ 3 สิงหาคม 2559. จากhttp://www.sac.or.th/main/article_detail.php?article_id=186&category_id=27.
นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ. แนวคิดทฤษฎี “ความหลากหลายทางเพศ”. ค้นเมื(อ 3 สิงหาคม 2559.
จาก http://www.sac.or.th/main/article_detail.php?article_id=186&category_id=27.
แปลงเพศ...เมื(อกายกับใจไม่ตรงกัน. ค้นเมื(อ 25 สิงหาคม 2559. จาก http://edunews.eduzones.com/tangmo/9461.
พัฒนาการทางเพศ. ค้นเมื(อ 25 สิงหาคม 2559. จาก http://www.psyclin.co.th/new_page_76.htm
พริศรา แซ่ก้วย. เพศวิถี วันวาน วันนีPและวันพรุ่งนีPทีจะไม่เหมือนเดิม. เชียงใหม่: ศูนย์สตรีศึกษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2547.
วสันต์ ปัญญาแก้ว. พัฒนาการของศาสตร์ทางสังคม. ในแนวความคิดพืPนฐานทางสังคมและวัฒนธรรม.
เชียงใหม่: ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2548.
วารุณี ภูริสินสิทธิ.\ เพศสภาพ. ในแนวความคิดพืนP ฐานทางสังคมและวัฒนธรรม. เชียงใหม่: ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2548.
เศกสิน ศรีวัฒนานุกูลกิจ. สังคมศาสตร์. ม.ป.ท., ม.ป.พ.
สุไลพร ชลวิไล. เพศไม่นิง: ตัวตน เพศภาวะ เพศวิถี ในมิติสุขภาพ. กรุงเทพมหานคร: คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2550.
ธเนศ วงศ์ยานนาวา. เพศ: จากธรรมชาติ สู่จริยธรรม จนถึงสุนทรียะ. กรุงเทพมหานคร: มติชน, 2551.
นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ. ความเข้าใจเรอื งเพศ จากแนวคิดทีหลากหลาย. ค้นเมื(อ 3 สิงหาคม 2559. จากhttp://www.sac.or.th/main/article_detail.php?article_id=186&category_id=27.
นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ. แนวคิดทฤษฎี “ความหลากหลายทางเพศ”. ค้นเมื(อ 3 สิงหาคม 2559.
จาก http://www.sac.or.th/main/article_detail.php?article_id=186&category_id=27.
แปลงเพศ...เมื(อกายกับใจไม่ตรงกัน. ค้นเมื(อ 25 สิงหาคม 2559. จาก http://edunews.eduzones.com/tangmo/9461.
พัฒนาการทางเพศ. ค้นเมื(อ 25 สิงหาคม 2559. จาก http://www.psyclin.co.th/new_page_76.htm
พริศรา แซ่ก้วย. เพศวิถี วันวาน วันนีPและวันพรุ่งนีPทีจะไม่เหมือนเดิม. เชียงใหม่: ศูนย์สตรีศึกษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2547.
วสันต์ ปัญญาแก้ว. พัฒนาการของศาสตร์ทางสังคม. ในแนวความคิดพืPนฐานทางสังคมและวัฒนธรรม.
เชียงใหม่: ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2548.
วารุณี ภูริสินสิทธิ.\ เพศสภาพ. ในแนวความคิดพืนP ฐานทางสังคมและวัฒนธรรม. เชียงใหม่: ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2548.
เศกสิน ศรีวัฒนานุกูลกิจ. สังคมศาสตร์. ม.ป.ท., ม.ป.พ.
สุไลพร ชลวิไล. เพศไม่นิง: ตัวตน เพศภาวะ เพศวิถี ในมิติสุขภาพ. กรุงเทพมหานคร: คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2550.