การศึกษารูปแบบและเทคนิควิธีการสร้างพระพุทธรูปศิลปะพม่า – ไทใหญ่ ที"ปรากฏในนครลำปาง

Main Article Content

ฐาปกรณ์ เครือระยา

บทคัดย่อ

               การศึกษาเรือง “รูปแบบและเทคนิควิธีการสร้างพระพุทธรูปศิลปะพม่า – ไทใหญ่ ที่ปรากฏในนครลำปาง” มีวัตถุประสงค์เพือเก็บรวบรวมรูปแบบและลักษณะของพระพุทธรูปทีม ีพุทธศิลปะแบบพม่า – ไทใหญ่เพือจำแนกประเภทและอายุสมัย รวมไปถึงเทคนิควิธีการสร้างของพระพุทธรูปศิลปะพม่า – ไทใหญ่ ที่ปรากฏในนครลำปาง เพือนำมาวิเคราะห์พุทธศิลปะ ทางด้านคติความเชือ เทคนิคการตกแต่ง รวมถึงลักษณะพิเศษของพระพุทธรูปสกุลช่างพม่า-ไทใหญ่ ซึงองค์ความรู้ทีได้จะสามารถนำไปใช้ในการสร้างและอนุรักษ์ รวมถึงผลักดันให้เป็นมรดกทางวัฒนธรรมท้องถนิ ลักษณะการวิจัยเป็นเชิงคุณภาพสำรวจลงพื้นที่ซึ่งมีวิธีการศึกษาในเชิงปฏิบัติการร่วมกับคนในชุมชน ทั้งการสอบถามรายละเอียดสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม พร้อมทั้งทำการสำรวจ บันทึกภาพรายละเอียดต่างๆ แล้วนำข้อมูลทีไ ด้มาวิเคราะห์ช่วงอายุ กลุ่มช่าง และเทคนิคการสร้างผลการศึกษาพบว่าพระพุทธรูปศิลปะพม่า – ไทใหญ่ ทีป รากฏในนครลำปางมีเทคนิคในการสร้างรวมทั้งสิ้น 7 เทคนิค คือ 1) งานแกะสลักด้วยไม้ 2) งานแกะสลักหินอ่อน 3) งานหล่อโลหะ 4) งานปูนปั้น 5) งานปั้น -กดพิมพ์รักสมุก 6) งานแมนเพียยา (เทคนิคเครืองเขิน) 7) งานสาน (พระเจ้าอินทร์สาน) จากแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมทีท ำการสำรวจ จำนวน 13 แหล่ง(วัด) ซึง จากการเก็บข้อมูลทำให้สามารถจำแนกประเภทและอายุสมัยออกเป็นช่วงพุทธศตวรรษ ซึง พระพุทธรูปศิลปะพม่า – ไทใหญ่ ปรากฏตั้ง แต่ปลายพุทธศตวรรษที 24 ถึงต้นพุทธศตวรรษที 25 รวมทั้ง ได้รวบรวมรูปแบบและลักษณะของการประดับตกแต่งพระพุทธรูป อันเป็น เอกลักษณ์ของสกุลช่างพม่า – ไทใหญ่ ทีไ ด้เข้ามาตั้งถนิ ฐานและเข้ามาทำกิจการป่ าไม้ในลำปางสมัยนั้น ทั้งนี้ ขอมูลดังกล่าวได้นำมาวิเคราะห์ตีความการเปลีย นแปลง ทั้งทางด้านคติความเชือ เทคนิคการตกแต่ง รวมถึงลักษณะของพระพุทธรูปศิลปะพม่า – ไทใหญ่ ทีเปลียนไปในแต่ละยุคสมัย ซึงองค์ความรู้ทีได้นั้น สามารถนำไปใช้ในการสร้างและอนุรักษ์ รวมถึงผลักดันให้เป็นมรดกทางวัฒนธรรมท้องถินในอนาคต


              นอกจากนี้หน่วยงานทีมีส่วนเกียวข้องควรเข้าไปให้ความรู้ ความเข้าใจในการอนุรักษ์รักษาพุทธศิลปกรรมดังกล่าว ชี้ให้ชุมชนเห็นคุณค่าและความสำคัญ เพือเป็นการปลุกจิตสำนึกรักและหวงแหงมรดกทางวัฒนธรรมชุมชนตน ซึงในอนาคตชุมชนอาจจะเสนอขอขึน ทะเบียนเป็นโบราณวัตถุและเป็นแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม โดยชุมชนสามารถนำองค์ความรู้เพือเป็นฐานข้อมูลเพือนำไปสู่การบริหารจัดการต่อไปในอนาคต

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

วิบูลย์ ลี้สุวรรณ. ศิลปะกับชีวิต. กรุงเทพมหานคร: ต้นอ้อ 1999. 2542.
สมเด็จฯกรมพระยาดำรงราชานุภาพ. ผาสุก อินทราวุธ. และวรณัย พงศาชลากร. อัฟกานิสถาน
แหล่งผลิตพระพุทธรูปองค์แรกในโลก. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มติชน. 2545).
สุจิตต์ วงษ์เทศ. กรุงเทพฯมาจากไหน?. กรุงเทพมหานคร: มติชน. 2548.
สรยุทธ ชัยดรุณ. การศึกษารูปแบบพระพุทธรูปศิลปะพม่าในวัดเขตอำเภอเมือง จังหวัด
เชียงใหม่และจังหวัดลำปาง. เชียงใหม่: ภาควิชาศิลปะไทย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2540.
สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคเหนือ เล่ม 8. (2540). กรุงเทพมหานคร.
พนิดา เกษรศรี. การศึกษารูปแบบงานลงรัก ปิดทอง ประดับอาคารศาสนสถานแบบพม่า ในเขต
อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง. เชียงใหม่: ภาควิชาศิลปะไทย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ . 2540.
พระอธิการฤทธิสx ุริยกานต์. เจ้าอาวาสวัดจองคำ. สัมภาษณ์. วันที่ 6 สิงหาคม 2554.
พระครูสุตชยาภรณ์. เจ้าอาวาสวัดศรีชุม. สัมภาษณ์. วันที่ 17 มกราคม 2554.
พระมหาสมลักษณ์. เจ้าอาวาสวัดท่ามะโอ.สัมภาษณ์. วันที่ 5 สิงหาคม 2554.
พระอธิการชลฌาทิศ. เจ้าอาวาสวัดศรีรองเมือง. สัมภาษณ์. วันที่ 5 สิงหาคม 2554.
พระพิษณุพล. เจ้าอาวาสวัดป่าฝาง. สัมภาษณ์. วันที่ 5 สิงหาคม 2554.