บทบาทภารัฐต่อปัญหาการเปิดบ่อนคาสิโน

Main Article Content

อณิษฐา หาญภักดีนิยม

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อทำให้ทราบถึงความเป็นมาของการพนัน อุปสรรคต่อการเปิดบ่อนคาสิโนและการพนัน รวมถึงบทบาทของภาครัฐต่อการเปิดคาสิโน เพื่อนำไปสู่ความคิดเห็นว่าประเทศควรจะมีการเปิดคาสิโนหรือไม่ในอนาคต ทำให้ทราบว่าภาครัฐควรมุ่งเน้นการมีบทบาทต่อการจัดการในการเปิดคาสิโน โดยการส่งเสริมหลักศีลธรรม คุณธรรมในการเปิดบ่อนคาสิโน เนื่องจากการจัดตั้งบ่อนคาสิโน ก็เพื่อมุ่งหวังในด้านการพัฒนาทางเศรษฐกิจ สร้างรายได้ให้แก่ประเทศชาติ แต่การพนันก็มักมีผลกระทบในด้านสังคม ดังนั้นภาครัฐควรมีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมการศึกษาและพัฒนา เพื่อยกระดับจิตสำนึกทางจริยธรรม เน้นการปลูกฝังระเบียบวินัยความซื่อสัตย์ และคุณธรรมจริยธรรมในสังคม ควรหลีกเลี่ยงเส้นทางแห่งอบายมุข 6 รวมถึงรณรงค์ให้เห็นโทษของอบายมุขและการเสพติดการพนันมากกว่าที่จะส่งเสริมให้เกิดการตั้งบ่อนคาสิโนขึ้นมา โดยไม่มีมาตรการหรือกฎหมายในการรองรับอย่างแน่นอนและครอบคลุม

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กิตติกร มีทรัพย์. “ความสุขจากการเล่นการพนัน”. ในงานวิจัยสุขภาพจิตเชิงวัฒนธรรมและ
เกสร สิทธิหนิ$ว. ประเทศไทยควรมีสถานกาสิโนถูกกฎหมายหรือยัง.
http://www.sarakadee.com/feature/2001/0//vote.shtml, 20 กันยายน 2558.
ณัฐวดี วงษ์วรเทวา, “ทัศนคติที=มีต่อความสัมพันธ์ ระหว่างการเปิดบ่อนการพนันที=ถูกกฎหมายในประเทศไทย
กับหลักศีลธรรมทางพระพุทธศาสนาของนักเรียนช่วงชันX ท=ีส=ี โรงเรียนมัธยมวัดดุสิตาราม”.
วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา, 2550.
ดร.ธีรกานต์ โพธิแh ก้ว. คาสิโน..กับการพนันในสังคมไทย. https://www.gotoknow.org/ posts/594079. 20 กันยายน
2558.
เนชัน1 , อบายมุข 6. http://www.oknation.net/. 24 กันยายน 2558.
พิกุล หิรัณอิทธิกูล. “สัมมนาโครงการส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพพระสงฆ์ เรื=อง คาสิโนในมิติพระพุทธศาสนา
การศึกษา และสังคมไทย”. 19 กันยายน 2558.
ไพศาล ลิม$ สถิตย์. “ปัญหาเก=ียวกับพระราชบัญญัติการพนัน พ.ศ. 2478”. เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ
เรื1อง ทิศทางการขับเคลื1อนเรื1องพนันในภาคเหนือ. 30 เมษายน 2556.
ภูมิปัญญาท้องถิ1น สำนักพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. เอกสารงานวิจัยเย็บเล่ม. หน้า 17.
รศ.ดร.ผาสุก พงษ์ไพจิตร. “เศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยหวยใต้ดิน”. ในเศรษฐกิจนอกกฎหมายและนโยบาย
สาธารณะในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ศึกษาเศรษฐศาสตร์การเมือง คณะเศรษฐศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539.