ไม้กั๋งไหล : ระบบการเขียนอักขระล้านนาในภาษาศาสตร์

Main Article Content

พระพิษณุพล สุวณฺณรูโป
พระมหากีรติ วรกิตฺติ

บทคัดย่อ

บทความเรื่อง “ไม้กั๋งไหล : ระบบการเขียนอักขระล้านนาในภาษาศาสตร์” เป็นการกล่าวถึงระบบการเขียนอักขระวิธีของล้านนาโดยใช้หลักการแห่งภาษาบาลี อันเป็นประเด็นสำคัญที่ทำให้เกิดกระบวนการทางภาษาศาสตร์ เกิดรูปที่เรียกพยัญชนะตัว ง ว่า “ไม้กั๋งไหล” ทั้งนี้ยังได้กล่าวถึงระบบของกลุ่มคำที่ประกอบด้วย”ไม้กั๋งไหล” ที่เขียนออกมาตามแนวแห่งภาษาบาลี อีกทั้งยังได้กล่าวถึงระบบคำ/ศัพท์ จากรากศัพท์ภาษาบาลี ที่นิยมนำมาใช้ในประโยคในภาษาล้านนาและภาษาไทยกลาง

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

Chanhom, L. (1999). Lanna local characters. (1st edition). Chiang Mai: Humanities and Social

Sciences.

Kammavaja scriptures. Lanna characters. Wat Phra That Lampang Luang, Ko Kha District, Lampang Province.

Literary Textbook No.1 (n.d.). Lanna characters. Wat Phra That Lampang Luang, Ko Kha District, Lampang Province.

Literary Textbook No.2 (n.d.). Lanna characters. Wat Phra That Lampang Luang, Ko Kha District, Lampang Province.

Phajorntit, S. (2014). Lanna Case Studies. (1st printing). Chiang Mai: Suthep Publishing.

Roongruangsri, U. (1999). Encyclopedia of Thai Culture, Northern Region, Character (Vol. 1, page 7854). Bangkok; Siam Press Management Company Limited.

Pansuk, A. (2008).Changes in the status and role of the Lanna language. (Research report).

Chiang Mai: Chiang Mai University.