ผลกระทบของธุรกิจบริการเนื้อหาผ่านโครงข่ายอินเทอร์เน็ต (OTT) ต่อกิจการโทรคมนาคม และแนวทางการกำกับดูแล

Main Article Content

โชคชัย เนตรงามสว่าง
เชต เขมะคงคานนท์

บทคัดย่อ

        บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะการประกอบกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมลักษณะการประกอบธุรกิจบริการเนื้อหาผ่านโครงข่ายอินเทอร์เน็ต (OTT) ผลกระทบของธุรกิจบริการ OTT ต่อผู้ประกอบกิจการโทรคมนาคมแบบดั้งเดิม การกำกับ ดูแลธุรกิจบริการ OTT และสภาพปัญหา เพื่อเสนอแนะแนวทางการกำกับดูแลธุรกิจบริการ OTT ในอนาคต โดยใช้วิธีการวิจัยเอกสาร ซึ่งผลการศึกษาพบว่าธุรกิจบริการ OTT เป็นธุรกิจที่เกิดขึ้นมาจากการพัฒนาระบบอินเทอร์เน็ต และใช้งานข้อมูลผ่านผู้ประกอบกิจการโทรคมนาคม การให้บริการ OTT มีผลกระทบต่อผู้ประกอบกิจการโทรคมนาคมแบบดั้งเดิมทั้งในแง่ของรายได้จากค่าบริการ ที่ลดลง และการพัฒนาและบำรุงรักษาโครงข่ายโทรคมนาคม การกำกับดูแลการให้บริการ OTT เมื่อพิจารณาตามกฎหมายไทยแล้วยังมีความไม่ชัดเจน โดยเมื่อพิจารณาการกำกับดูแลธุรกิจบริการ OTT ในหลายประเทศแล้วพบว่ามีความแตกต่างกันออกไป เช่น การกำหนดให้ต้องขออนุญาต หรือการกำหนดระบบแบ่งปันรายได้ โดยการกำหนดให้ผู้บริการ OTT จ่ายค่าบริการเพื่อใช้โครงข่ายโทรคมนาคมเพื่อให้เกิดความเป็นธรรมมากขึ้น อย่างไรก็ตามยังมีข้อโต้แย้งที่หลากหลายเกี่ยวกับการกำกับดูแล ไม่ว่าจะเป็นปัญหาที่เกิดในทางกฎหมายหรือในทางปฏิบัติ หรือข้อโต้แย้งเกี่ยวกับการทำให้เกิดการสูญเสียความเป็นกลางทางเน็ต (Net neutrality) ซึ่งประเทศไทยควรต้องมีการศึกษาเพิ่มเติม กำหนดนโยบายและกฎหมายให้ชัดเจนในอนาคต

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
บทความ

References

Jennie Johnson, ‘57 Percent of Southeast Asian Viewers are Now Streaming More OTT Video Content Because of COVID-19, According to New Research’ (Bloomberg, 8 December 2020) <https://www.bloomberg.com/press-releases/2020-12-08/57-percent-of-southeast-asian-viewers-are-now-streaming-more-ott-video-content-because-of-covid-19-according-to-new-research> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม, รายงานผลสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย (2563).

พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียงวิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553.

พระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. 2551.

สำนักงาน กสทช, ‘รายชื่อผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม’ <http://apps.nbtc.go.th/license/?lang=th-th> (NBTC, 17 สิงหาคม 2565) สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

จิตสุภา ฤทธิผลิน, ‘แนวทางการกำกับดูแลกิจการโทรทัศน์และบริการ Over The Top (OTT)’ (NBTC, ม.ป.ป.) <https://broadcast.nbtc.go.th/data/academic/file/620700000004.pdf> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียงวิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553.

Pankaj Doval, ‘No regulation needed for communication apps: Trai’ (The Times of India, 15 September 2020) <https://timesofindia.indiatimes.com/business/india-business/no-regulation-needed-for-communication-apps-trai/articleshow/78115916.cms> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

ปิยาพัชร วงษ์ประสิทธิ์, ‘มาตรการทางกฎหมายในการกำกับดูแลการประกอบธุรกิจบริการโอทีที (OTT)’ (วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2560).

เกียรติศักดิ์ ศรีพิมานวัฒน์, สารานุกรมโทรคมนาคมไทย ฉบับพุทธศักราช 2552 (สมาคมวิชาการไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ โทรคมนาคมและสารสนเทศ (อีซีทีไอ) 2552).

พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียงวิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553.

ประกาศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง กำหนดลักษณะและประเภทของกิจการโทรคมนาคมที่ต้องได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม.

พระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544.

Ilsa Godlovitch, Bas Kotterink, J. Scott Marcus, Pieter Nooren, Jop Esmeijer, and Arnold Roosendaal, ‘Over-the-Top (OTTs) players: Market dynamics and policy challenges’ (Submitted to the European Parliament’s Committee on the Internal Market and Consumer Protection, Policy Department Economic and Scientific Policy, European Parliament 2015) <https://www.europarl.europa.eu/RegData/etudes/STUD/2015/569979/IPOL_STU(2015)569979_EN.pdf> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

ศิริวรรณ อนันต์โท, ‘ปัจจุบันและอนาคตของการให้บริการโทรทัศน์ผ่านโครงข่ายอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย’ (2564) 4 (3) วารสารบริหารธุรกิจและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง 116, 116-130.

Shirley Baldry, Markus Steingröver, and Markus A. Hessler, ‘The rise of OTT players – what is the appropriate regulatory response?’ (25th European Regional Conference of the International Telecommunications Society (ITS): “Disruptive Innovation in the ICT Industries: Challenges for European Policy and Business”, Brussels, Belgium, 22-25 June 2014) <https://www.econstor.eu/bitstream/10419/101398/1/794192858.pdf> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

Body of European Regulators for Electronic Communications (BEREC), ‘BEREC Report on OTT services’ (BEREC, 29 January 2016) <http://berec.europa.eu/eng/document_register/subject_matter/berec/reports/5751-berec-report-on-ott-services> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

Joshi Sujata, Sarkar Sohag, Dewan Tanu, Dharmani Chintan, Purahit Shubham, and Gandhi Sumit, ‘Impact of Over the Top (OTT) Services on Telecom Service Providers’ (2015) 8 (4) Indian Journal of Science and Technology 145, 145-160. https://doi.org/10.17485/ijst/2015/v8iS4/62238

ปริญญา ชาวสมุน, ‘“อุตสาหกรรมโทรคมนาคมใหม่” สังเวียนธุรกิจสื่อสารที่ต้องเรียนรู้ปรับตัวอุตสาหกรรมโทรคมนาคมใหม่’ (กรุงเทพธุรกิจ, 17 เมษายน 2565) <https://www.bangkokbiznews.com/tech/tech_innovation/998005> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

ประกาศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง กำหนดลักษณะและประเภทของกิจการโทรคมนาคมที่ต้องได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม.

พระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544.

ประกาศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง มาตรฐานของคุณภาพการให้บริการโทรคมนาคม.

Jane Wakefield, ‘Netflix viewing eats up world’s data’ (BBC, 4 October 2018) <https://www.bbc.com/news/technology-45745362> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

พระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544.

ประกาศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม.

พระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544.

ประกาศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม.

ประกาศคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง มาตรฐานของสัญญาให้บริการโทรคมนาคม พ.ศ. 2549.

พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562.

ศูนย์วิจัยกฎหมายและการพัฒนา, แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมลูส่วนบุคคล (โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย 2563).

พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562.

Line, ‘Responding to Law Enforcement Agencies’ (Linecorp, 19 January 2022) <https://line-corp.com/en/security/article/35> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, รายงานผลการศึกษาฉบับสมบูรณ์ โครงการ “ศึกษา ผลกระทบของ OTT ต่อกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ และแนวทางการส่งเสริมและกำกับดูแล” เล่ม 2 : การส่งเสริมการประกอบกิจการ OTT ปัจจัยความสำเร็จของการผลิตและนำเสนอเนื้อหารายการผ่านบริการ OTT 2563.

นักคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์ (บส.), ‘ผู้ประกอบการ OTT พร้อมร่วมมือ กสทช. เข้าระบบการกำกับดูแล เสนอสร้างกติกาสอดคล้องสากล ห่วงเนื้อหาละเมิดลิขสิทธิ์ แนะกำกับ OTT ทั้งระบบรวมโฆษณา’ (NBTC, มปป.) <http://bcp.nbtc.go.th/th/detail/2017-07-13-17-44-32> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

เสาวรส ทิพย์ธรรมธารา, ‘การกำกับสื่อที่มีการหลอมรวมของช่องทางการสื่อสารข้อมูล : กรณีศึกษาการ แพร่ภาพและเสียงผ่านอินเทอร์เน็ต (OTT)’ (วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ 2563).

พิรงรอง รามสูต รณะนันทน์, ‘การกำกับดูแล OTT จำเป็นหรือไม่ เพียงใด’ (กรุงเทพธุรกิจ, 25 กรกฎาคม 2560) <https://www.bangkokbiznews.com/blogs/columnist/116887> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

World Conference on International Telecommunications (WCIT), ‘Quality of Service and “Net Neutrality”’ (WCIT 2012, Dubai, United Arab Emirates, 3-14 December 2012) <https://www.itu.int/en/wcit-12/Documents/WCIT-background-brief11.pdf> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

Telecommunication Development Bureau (BDT) of the International Telecommunication Union (ITU), ‘GSR10 Best Practice Guidelines for Enabling Open Access’ (10th Global Symposium for Regulators, Dakar, Senegal, 10-12 November 2010). <https://www.itu.int/ITU-D/treg/Events/Seminars/GSR/GSR10/consultation/guidelines/GSR10_guidelines_V3-en.pdf> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

SCHALAST, ‘WHAT IS AN OTT SERVICE? FIND OUT WHAT OTT MEANS AND UNDERSTAND THE SCOPE OF REGULATION’ (OTT REGULATION, no publication date) <https://www.ott-regulation.com/what-is-an-ott-service/> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

The European Parliament and The Council of the European Union, European Electronic Communications Code (11 December 2018) <https://eur-lex.europa.eu/legal-content/EN/TXT/?uri=uriserv%3AOJ.L_.2018.321.01.0036.01.ENG> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

European Union Agency for Cybersecurity, Guideline on Security Measures under the EECC (4th edn, European Union Agency for Cybersecurity, July 2021).

The European Parliament and The Council of the European Union, Directive on Privacy and Electronic Communications (12 July 2002) <https://eur-lex.europa.eu/legal-content/EN/TXT/PDF/?uri=CELEX:32002L0058> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

Juan Cacace, ‘Tech Policy Trends 2022 | Why Interoperability Shines a Light in Telco OTT’ (Access Partnership, 1 February 2022) <https://www.accesspartnership.com/tech-policy-trends-2022-why-interoperability-shines-a-light-in-telco-ott/> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

ETtech. ‘ETtech Explained: Government rules on WhatsApp & the controversy around it’ (Economic Times, 28 May 2021) <https://economictimes.indiatimes.com/tech/trendspotting/explained-government-rules-on-whatsapp-the-controversy-around-it/articleshow/83035150.cms> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

Surabhi Agarwal, ‘India’s new social media rules seen echoing globally’ (Economic Times, 1 March 2021) <https://economictimes.indiatimes.com/tech/technology/indias-new-social-media-rules-seen-echoing-globally/articleshow/81264441.cms> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

บริษัท ทีโอที จำกัด มหาชน, ‘อดีตจนถึงปัจจุบัน’ (TOT, มปป) <https://www.tot.co.th/เกี่ยวกับองค์กร/ประวัติการจัดตั้งบริษัท> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

สถาบันเทคโนโลยีการผลิตสุมิพล, ‘ทำความรู้จัก Circuit switching คืออะไร มีประโยชน์อย่างไรบ้าง’ (sumipol, 3 กันยายน 2563) <https://www.sumipol.com/knowledge/what-is-circuit-switching/> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

International Telecommunication Union (ITU), ‘Tariff and accounting principles and international telecommunication/ICT economic and policy issues’ (ITU. No publication date) <https://www.itu.int/rec/T-REC-D/en> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

Axon Partners Group, ‘Europe’s internet ecosystem: socioeconomic benefits of a fairer balance between tech giants and telecom operators’ (ETNO, May 2022) <https://etno.eu/downloads/reports/europes%20internet%20ecosystem.%20socio-economic%20benefits%20of%20a%20fairer%20balance%20between%20tech%20giants%20and%20telecom%20operators%20by%20axon%20for%20etno.pdf> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

Fiona Alexander, ‘What’s Old is New Again: Is Retrograde Telecom Policy Returning to Europe?’ (CEPA, 12 May 2022) <https://cepa.org/whats-old-is-new-again-is-retrograde-telecom-policy-returning-to-europe/> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

Mathieu Pollet. ‘French operators urge large platforms to contribute to network costs’ (EURACTIV, 4 February 2022) <https://www.euractiv.com/section/digital/news/french-operators-suggest-big-content-providers-contribute-to-network-costs/> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

Body of European Regulators for Electronic Communications (BEREC), ‘BEREC’s comments on the ETNO proposal for ITU/WCIT or similar initiatives along these lines’ (BEREC, 14 November 2012) <https://www.berec.europa.eu/sites/default/files/files/document_register_store/2012/11/BoR%2812%29120rev.1_BEREC_Statement_on_ITR_2012.11.14.pdf> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

Fiona Alexander (เชิงอรรถ 50).

Epicenter.works. ‘Closing the Loopholes in EU’s Net Neutrality Framework’ (European Digital Rights (EDRi), 20 October 2021) <https://edri.org/our-work/closing-the-loopholes-in-eus-net-neutrality-framework/> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

Roslyn Layton, ‘Should 23 Million South Koreans Pay More For Broadband When Only 5 Million View Netflix?’ (Forbes, 23 February 2022) <https://www.forbes.com/sites/roslynlayton/2022/02/23/should-23-million-south-koreans-pay-more-for-broadband-when-only-5-million-view-netflix/?sh=13837edd1013> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

Robert F. Easley, Hong Guo, and Jan Krämer, ‘From Network Neutrality to Data Neutrality: A Techno-Economic Framework and Research Agenda’ (2015) 29 (2) Information Systems Research 1, 1-44. https://doi.org/10.2139/ssrn.2666217

ปียาภัสณ์ ระเบียบ, ‘Net Neutrality: เมื่อผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตถูกคาดหวังให้เป็นกลาง’ (iLaw, 18 มิถุนายน 2555) <https://ilaw.or.th/node/1590> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

‘ศาลเกาหลียืนยันผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตมีสิทธิ์เก็บค่าเชื่อมต่อจากสตรีมมิ่งเพิ่มเติม Netflix โดนเต็มๆ’ (blognone, 29 มิถุนายน 2564) <https://www.blognone.com/node/123475> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

David Shepardson, ‘U.S. FCC votes to maintain 2017 repeal of net neutrality rules’ (Reuters, 27 October 2020) <https://www.reuters.com/article/us-usa-internet-idUKKBN27C2EO> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

ธิติมา อุรพีพัฒนพงศ์, ‘อินเทอร์เน็ตของเราไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป จากประเด็น Net Neutrality ในสหรัฐอเมริกา’ (The Momentum, 19 ธันวาคม 2560) <https://themomentum.co/net-neutrality/> สืบค้น เมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

Sean Hollister, ‘California can finally enforce its landmark net neutrality law, judge rules’ (The Verge, 23 February 2021) <https://www.theverge.com/2021/2/23/22298199/california-net-neutrality-law-sb822> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

Han-Gyeol Seon, Jin-Suk Choi, and Hyun-Ah Oh, ‘Netflix loses first court case over network usage fee’ (The Korea Economic Daily Global Edition, 25 June 2021) <https://www.kedglobal.com/entertainment/newsView/ked202106250013> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

Son Ji-hyoung, ‘Legal logic takes new twist in SK-Netflix dispute’ (The Korea Herald, 16 June 2022) <https://www.koreaherald.com/view.php?ud=20220616000704> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

“Blognone (เชิงอรรถ 58).”

“Roslyn Layton (เชิงอรรถ 55).”

The European Parliament and The Council of the European Union, Directive on Electronic Commerce (8 June 2000) <https://eur-lex.europa.eu/legal-content/EN/TXT/PDF/?uri=CELEX:32000L0031&from=EN> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

Ilsa Godlovitch, Bas Kotterink, J. Scott Marcus, Pieter Nooren, Jop Esmeijer, and Arnold Roosendaal (เชิงอรรถ 15).

Reuters, ‘Google opposes Facebook-backed proposal for self-regulatory body in India: sources’ (The Economic Times, 11 August 2022) <https://economictimes.indiatimes.com/tech/technology/google-opposes-facebook-backed-proposal-for-self-regulatory-body-in-india-sources/articleshow/93495910.cms> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม, ‘ส่องนโยบายและ กฎหมายแพลตฟอร์ม OTT รอบโลก’ (ETDA, 20 ตุลาคม 2564) <https://www.etda.or.th/th/Useful-Resource/Regulations-for-OTT.aspx> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.

ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (เชิงอรรถ 34).

พิรงรอง รามสูต รณะนันทน์ (เชิงอรรถ 37).

MarketThink, ‘แพลตฟอร์มเหล่านี้ เก็บ “ข้อมูลส่วนตัว” ของเรามากแค่ไหน’ (Blockdit, 6 สิงหาคม 2565) <https://www.blockdit.com/posts/62ed05a07e7dc12b872a7213> สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2565.