การนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปทดลองใช้ในการพัฒนาธุรกิจ
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาปัจจัยที่เหมาะสมในการกำหนดเป็นรูปแบบ และนำไป พัฒนาเป็นเครื่องมือสำหรับพิสูจน์ทฤษฎีกับกลุ่มตัวอย่างอื่น ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Quantitative Research)ในรูปแบบของการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (PAR) ดำเนินการวิจัยโดยการทบทวนวรรณกรรม ศึกษาดูงานหมู่บ้านต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง นำองค์ประกอบ 3 ห่วง 2 เงื่อนไข มาสังเคราะห์เป็นตัวแปร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ และแบบบันทึกการประชุมกลุ่มย่อย
ผลการวิจัยพบว่า ด้านความรู้ กลุ่มตัวอย่างสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประกอบอาชีพได้ ด้านคุณธรรม มีความรู้ รัก สามัคคี ภายในกลุ่ม ด้านการมีเหตุผล มีความเด็ดเดี่ยวในการตัดสินใจ กล้าตัดสินใจ และมีการยกระดับความคิด จิตใจในการดำรงชีพ ด้านการมีภูมิคุ้มกันที่ดี มีการพัฒนาอาชีพอย่างยั่งยืน และมีการวางแผนการผลิตเป็นขั้นเป็นตอน ด้านความพอประมาณ กลุ่มตัวอย่างมีความยินดีในสิ่งที่ทำ สามารถนำหลักการวางแผน และการบริหารจัดการมาใช้ในการประกอบอาชีพ และมีการแสวงหาวิธีการลดรายจ่ายและไม่ฟุ่มเฟือยในการดำเนินชีวิต
References
เศรษฐกิจพอเพียงไปสร้างความมั่นคงของมนุษย์. ประจำปี 2556 กรุงเทพฯ : กระทรวงการพัฒนา
สังคมและความมั่นคงของมนุษย์.
กระทรวงมหาดไทย. (2552). คู่มือการประเมินหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ : กรมการพัฒนา
ชุมชน.
เฉลิมพงษ์ คงเจริญ. (2553). ระบบเศรษฐกิจไทยก่อนวิกฤตการณ์การเงิน พ.ศ. 2540 (พ.ศ.2530 –2540).
โครงการเมธีวิจัยอาวุโส. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
ไชยรัตน์ ปราณีและคณะ. (2551). การศึกษาโครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการแก้ไขปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืน.
พระยุทธศิลป์ ยุทธสิปโป. (2554). การบริหารงานโดยการประยุกต์ใช้หลักสัปปุริสธรรม 7 ขององค์การ
บริหารส่วนตำบลบ้านค้อ อำเภอโพนสวรรค์ จังหวัดนครพนม. วิทยาลัยสงฆ์นครพนม.
นครพนม : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.
เพ็ญจันทร์ สังข์แก้ว. (2551). รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนารูปแบบการจัดการธุรกิจชุมชนเพื่อการพึ่งพา
ตนเองตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ประเภทธุรกิจเกษตรของเกษตรกรปลูกมะขามหวานเพื่อการค้า
จังหวัดเพชรบูรณ์. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2556). เทคนิคการสร้างเครื่องมือรวบรวมข้อมูลสำหรับการวิจัย.
เอกสารประกอบการสอน. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
มูลนิธิชัยพัฒนา. (2555).การพัฒนาธุรกิจชุมชน . กรุงเทพฯ : อัมรินทร์พริ้นติ้ง.
วิลาสินี ศรีสุวรรณ และคณะ. (2555). การบริการวิชาการแก่สังคมด้านวิศวกรรมและสถาปัตยกรรมเพื่อ
สร้างชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง บ้านร่องปลายนา จังหวัดเชียงราย. คณะเทคโนโลยี
อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
วันชัย พละไกร. (2550). ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความสำเร็จของหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง : กรณีศึกษาบ้าน
ตำแย ตำบลม่วงสามสิบ อำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหา
บัณฑิต สาขาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา. มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุบลราชธานี.
วันวิสา สีวัน. (2556). ค่านิยมทางวัฒนธรรมที่เปลี่ยนแปลงไปในสังคมปัจจุบัน.บทความเชิงวิชาการ .
กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ . (2558). ทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12. เอกสารประกอบการระดมความคิดเห็น ทิศทางแผนพัฒนาฯ ฉบับที่
12. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2541). ปรัชญาแท้จริงของเศรษฐกิจ
พอเพียง. ____สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10. เศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเอง : หนทางรอดของสังคมไทย.
เทศาภิบาล : กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ. (2552). 60 ปี
ครองราชย์ประโยชน์สุข ประชาราษฏร์. กรุงเทพฯ : สำนักงาน กปร.
สุภางค์ จันทวานิช. (2553). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 17. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.