ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาเพื่อประสิทธิผลของโรงเรียนสาธิต

ผู้แต่ง

  • Nipaphan Saithong
  • Cherdla Soontornvipart
  • Pairoj Duangnakhon
  • Sunthon Khlai-um

บทคัดย่อ

งานวิจันนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา เพื่อประสิทธิผลของโรงเรียนสาธิต และศึกษาความเป็นไปได้ในการนำยุทธศาสตร์ไปใช้ในการเพิ่มประสิทธิผล โดยผ่านกระบวนการถอดบทเรียนภายใต้หลักการของ Florence Heffron,1989 และสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลจากโรงเรียนสาธิต ได้แก่ ผู้อำนวยการ รองฝ่ายวิชาการ และครู  ซึ่งเป็นโรงเรียน Best Practice:BP  5  แห่ง คือ สาธิตจุฬาฯ สาธิต ม.ศ.ว. สาธิต ม.รังสิต สาธิตพัฒนา และสาธิต ม.ช.  เพื่อนำมาเป็นเครื่องมือในการกำหนดยุทธศาสตร์ มีการตรวจสอบหาความเชื่อมั่นของข้อมูลแบบสามเส้า จากกลุ่มสัมภาษณ์ที่ต่างกันของโรงเรียนสาธิตแต่ละแห่ง  นำข้อมูลดังกล่าวมาสร้างยุทธศาสตร์ และทำสนทนากลุ่มประเมินความเป็นไปได้จากผู้เชี่ยวชาญที่เป็นอดีตผู้บริหารโรงเรียนสาธิต  จากการศึกษาพบว่ายุทธศาสตร์สำคัญที่จะทำให้การจัดการศึกษาเพื่อประสิทธิผลของโรงเรียนสาธิต คือ 1) การยกระดับการบริหารวิชาการ 2) การสนับสนุนการบริหารเพื่อมุ่งสู่เป้าหมาย 3) การยกระดับการบริหารงานส่งเสริมนักเรียน 4) การส่งเสริมให้เกิดการเห็นคุณค่าของผู้มีส่วนได้เสีย 5) การจัดการความรู้และแหล่งเรียนรู้ ซึ่งผู้ทรงคุณวุฒิมีความเห็นสอดคล้องกันว่ายุทธศาสตร์ดังกล่าวมีความเหมาะสมเป็นไปได้

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). กรณีศึกษาการจัดการศึกษาด้านศิลปวิทยาศาสตร์ (Liberal Arts
Education) ของประเทศสหรัฐอเมริกา ชุดรายงานการวิจัย เล่มที่2. รายงายการวิจัย สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ.

กัตติกา ศรีมหาวโร. (2555). การใช้ระบบการจัดการความรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานวิชาการ
ของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 4: กรณีศึกษาโรงเรียนบ้านสระบัว. ดุษฎีนิพนธ์ ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยรังสิต.

กีรติ แสงตะวัน. (2555). ผลการพัฒนาความสามารถของครูในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น
สำคัญ โดยการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1. รายงานการวิจัย. สุรินทร์ : สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1

จรุญ จับบัง, ภารดี อนันต์นาวี, เจริญวิชญ์ สมพงษ์ธรรม และสมโภชน์ อเนกสุข. (2555). รูปแบบการ
พัฒนาคุณภาพการศึกษาตามยุทธศาสตร์ การพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก ด้วยกระบวนการวิจัย เชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา. 6(2): 59-72.

จักษวัชร ศิริวรรณ. (2555). แนวคิด ความสำคัญ และกระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ (ออนไลน์).
เข้าถึงได้จาก: http://www.gotoknow.org/blogs/posts/437659. เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2560.

เฉลิมลาภ ทองอาจ. (2553). โรงเรียนสาธิตที่แท้ : การจัดการเรียนรู้ตามปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการ.

วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 12(1): 71-93.

ชวนคิด มะเสนะ. (2559). การพัฒนาทรัพยากรบุคคลทางการศึกษาในทศวรรษหน้า. วารสารบริหาร
การศึกษาบัวบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. 16(1) : 9-16

ไชยพร เรืองแหล. (2556). บทบาทของสถานศึกษาในการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม แก่นักเรียน สังกัด
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ขอนแก่น เขต 1. วิทยานิพนธ์
พุทธศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). อยุธยา : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ธนวัฒน์ อรุณสุขสว่าง และนรินทร์ สังข์รักษา. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษตาม
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 6 เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 2 เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน. วารสาร Veridian E-Journal, Slipakorn University. ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม.

ปารณทัตต์ แสนวิเศษ. (2555). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียน
ประถมศึกษา : การสร้างทฤษฎีจากฐานราก. วารสารบริหารการศึกษา มศว. 16(1): 69-82.

ปิรันธ์ ชิณโชติ และจีระวัฒน์ จันทึก. (2558). ข้อเสนอเชิงนโยบาย เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน
โดยการจัดการความรู้ ในการลดระดับ ความเบื่อหน่ายในการเรียนของนักศึกษา.

วารสาร Veridian E-Journal, Slipakorn University. ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม.
พระครูประโชติจันทวิมล. (2555). การส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม นักเรียนโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ
หอวัง นนทบุรี อําเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี. วิทยานิพนธ์ พุทธศาสตรมหาบัณฑิต
(การบริหารการศึกษา). อยุธยา : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

รัตนะ บัวสนธ์. (2552). ปรัชญาการวิจัย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิทยากร เชียงกูล. (2559). สภาวะการศึกษาไทย ปี2557/2558 จะปฏิรูปการศึกษาไทยให้ทันโลก
ศตวรรษที่ 21 ได้อย่างไร. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

วันชัย มีชาติ. (2554). การบริหารองค์กร. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เอกลักษณ์ บุญท้าว ,สมเจตน์ ภูศรี และศิริ ถีอาสนา. (2557). รูปแบบการพัฒนาครูด้านการทำวิจัยในชั้น
เรียนของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2. วิทยานิพนธ์ การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารจัดการการศึกษา. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

Eliot & Associates. (2005). Guidelines for Conducting a Focus Group. Available Online at
http://assessment.aas.duke.edu/documents/How_to_Conduct_a_Focus_Group.pdf

Forrence Heffron. (1989). Organization Theory and Public Organizations: The Political
Connection. New Jersey: Prentice Hall.

Hoy,W.K,&,C.G. Miskel.(2005). Educational Administration: Theory, Research and
Practice. 7th ed. New York: McGraw-Hill.

Massey, Oliver T. (2010). A Proposed Model for the Analysis and Interpretation of
Focus Groups in Evaluation Research. Policy Division, Louis De La Parte Florida Mental Health Institute, University of South Florida, 13301 Bruce Downs Blvd. MHC 2-331, Tampa, FL 33612, United States, Content Lists Available at Science Direct, Evaluation and Program Planning, 34 (2011) 21-28.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

21-05-2018

How to Cite