การพัฒนารูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารในวิทยาลัยสารพัดช่าง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ผู้แต่ง

  • Jirawat Chinsri

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการบริหารแบบมีส่วนร่วมในวิทยาลัยสารพัดช่าง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 2) สร้างรูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารในวิทยาลัยสารพัดช่าง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และ 3) ประเมินประสิทธิภาพของรูปแบบที่สร้างขึ้น เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการวิเคราะห์เอกสาร ใช้แบบสอบถาม การสัมภาษณ์ และการสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test) และการวิเคราะห์เนื้อหา

            ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการพัฒนารูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมในวิทยาลัยสารพัดช่าง โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง 2. รูปแบบที่สร้างขึ้นมี 3 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1) หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม 2) ขอบข่ายงานการบริหารแบบมีส่วนร่วม และ 3) กระบวนการบริหารแบบมีส่วนร่วม 3. ผลการประเมินรูปแบบโดยผู้ใช้ พบว่า หลังการใช้รูปแบบมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉลี่ยก่อนใช้รูปแบบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และความพึงพอใจหลังการใช้รูปแบบที่พัฒนาขึ้นมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด

References

คณะกรรมการการอาชีวศึกษา, สำนักงาน. (2550). มาตรฐานการอาชีวศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา.

จีระพงษ์ หอมสุวรรณ. (2556). การพัฒนารูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมในสถานศึกษา สังกัด
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัย
นเรศวร พิษณุโลก).

จันทรานี สงวนนาม. (2551). ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารสถานศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 2).
กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์

ทิศนา แขมมณี และคณะ. (2551). กระบวนการเรียนรู้ : ความหมาย แนวทางการพัฒนา และปัญหาข้องใจ.
เอกสารเผยแพร่ในโครงการ วพร. ลำดับที่ 01.

ธงชัย สันติวงษ์. (2549). การบริหารทรัพยากรมนุษย์. (พิมพ์ครั้งที่ 11 ฉบับปรับปรุงใหม่).
กรุงเทพฯ: ประชุมช่าง.

บรรจง เจริญสุข. (2552). การพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลในสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐาน เขตจังหวัดภาคใต้ตอนบน. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัย
รามคำแหง).

บุญชม ศรีสะอาด. (ม.ป.ป). การพัฒนาการวิจัยโดยใช้รูปแบบ. สืบค้นเมื่อ 10 สิงหาคม 2559, จาก
http://www. watpon.com/boonchom/development.pdf

บุญเพิ่ม สอนภักดี. (2559). รูปแบบเครือข่ายความร่วมมือเพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียน
ในสังกัดเทศบาล. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 18(4), 99-113.

พลสัณห์ โพธิ์ศรีทอง. (2551). ความเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาที่ต้องตระหนัก. บุรีรัมย์: มหาวิทยาลัย
ราชภัฏบุรีรัมย์, อัดสำเนา.

พฒศ์ศิวพิศ โนรี. (2556). การพัฒนารูปแบบการบริหารงานเทคโนโลยีสารสนเทศในสถาบันการอาชีวศึกษา
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา.วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร,
15(3), 16-21.

พุทธชาด ศุภลักษณ์. (2558). การพัฒนารูปแบบการดำเนินงานความร่วมมือระหว่างประเทศด้านอาชีวศึกษา
ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. สืบค้นเมื่อ 12 มกราคม 2560,
จาก http://civec.vec.go.th/default.aspx

มะณู คุ้มกล่ำ. (2557). การพัฒนารูปแบบการบริหารวิทยาลัยสารพัดช่าง เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่สถาบัน
การอาชีวศึกษา. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร).

มาโนช ชีพสุวรรณ. (2556). รูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารสหวิทยาเขต ในโรงเรียน
สังกัดกรมสามัญศึกษา (เดิม) จังหวัดนครสวรรค์. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย
ราชภัฏนครสวรรค์).

รุ่ง แก้วแดง. (2549). โรงเรียนนิติบุคคล. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

รังสรรค์ ประเสริฐศรี. (2549). การจัดการสมัยใหม่ (Modern Management). กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.

วิติยา ปิดตังนาโพธิ์. (2555). กระบวนการเรียนรู้เพื่อฝ่าวิกฤติความท้าทายในอนาคต. วารสารศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 35(2), 1-6.

สมยศ นาวีการ. (2549). การบริหารแบบมีส่วนร่วม. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ.

สิรินทิพย์ สิทธิศักดิ์. (2554). การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการบริหารโรงเรียนอาชีวศึกษา:
กรณีศึกษาเขตภาษีเจริญและเขตบางกอกใหญ่. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สถาบัน
บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2552). แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ.2552-2559).
กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.

สันติ บุญภิรมย์. (2552). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ: บุ๊คพอยท์.

อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ. (2551). การพัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียนเอกชนคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑล
ในทศวรรษหน้า. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา).

อินดา แตงอ่อน. (2553). รูปแบบการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูที่เน้นการใช้แหล่งเรียนรู้
และสถานประกอบการเพื่อส่งเสริมทักษะหลักตามสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนของวิทยาลัย
อาชีวศึกษานครปฐม สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. นครปฐม: วิทยาลัย
อาชีวศึกษานครปฐม สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา.

อุทัย บุญประเสริฐ. (2549). การศึกษาแนวทางการบริหารและการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในรูปแบบ
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.

Anthony, William, P. (1978). Participative management. Massachusetts: Addison-Wesley.

Bovee, L.C., Thill. J.V., Wood, M.B. and Dovel, G.P. (1993). Management. New York: McGraw-Hill.

House, R.J. and Michell, R.R. (1974). Path-goal theory of leadership. New York: Holt.

Hungtington, Sammual, P. and Neison, Joan. (1975). No easy choice: political participation in developing
countries. New York: Mc Grew-Hill.

Keeves, P.J. (1988). Educational research, methodology, and measurement: An international handbook.
Oxford : Pergamon Press.

Koontz, H. and O’Donnell. (2001). Essentials of management. (3rd). New Delhi: TATA.

Likert. (1961). New patterns of management. New York: McGraw-Hill Book.

Lussier, R. N. (1996). Human relation in organization. Chicago: IRWIN.

Robbins, S.P. (1990). The administrative process. (2nd ed.) London: Prentice-Hall.

Swanberg, R.C. and Swanberg, L.G. (1996). Nursing staff development. Boston: Jones And Barlett.

เผยแพร่แล้ว

21-05-2018

How to Cite