ปัจจัยคุกคามต่อสุขภาพของเกษตรกรชาวนาไทย: กรณีศึกษาชาวนาตำบลบ้านดู่ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย

ผู้แต่ง

  • Warunee Phanwong
  • Kanjanar Pintakham

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยคุกคามต่อสุขภาพของเกษตรกรชาวนา การวิจัยเป็นแบบเชิงพรรณนาภาคตัดขวาง กลุ่มตัวอย่างคือเกษตรชาวนา จำนวน 221 คน  ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม เกี่ยวกับข้อมูลทั่วไป และสิ่งคุกคามต่อสุขภาพ ได้ค่าความเชื่อมั่นที่ 0.90 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  ผลการวิจัยพบ ปัจจัยคุกคามต่อสุขภาพในขั้นตอนการเก็บเกี่ยวข้าวมากที่สุด รองลงมาคือขั้นตอนการดูแลรักษาต้นข้าว ขั้นตอนการเพาะปลูกข้าว  และขั้นตอนการเตรียมพื้นที่เพาะปลูกข้าวตามลำดับ หากพิจารณาเป็นรายด้านพบ ขั้นตอนการเตรียมพื้นที่เพาะปลูก พบปัจจัยคุกคามด้านกายภาพมากที่สุด  ขั้นตอนการเพาะปลูกข้าว ขั้นตอนการดูแลรักษาต้น และขั้นตอนการเก็บเกี่ยวข้าว พบปัจจัยคุกคามด้านการยศาสตร์และจิตสังคมมากที่สุด จะเห็นได้ว่าปัจจัยทางด้านการยศาสตร์และจิตสังคมถือว่าเป็นปัญหาที่สำคัญของเกษตรกรชาวนาที่ควรตระหนักและหาแนวทางในการออกแบบกิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวต่อไป

 

References

การปลูกการดูแลรักษาและการใช้ปุ๋ยเคมี. สืบค้นเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2559 ,จาก http://www.arda.or.th/kasetinfo/rice/ricecultivate&fertiliset/ricecultivate_manage_nawan.html#manage การเกษตรไทย. (2550). สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2559, จากhttp://gms.oae.go.th/Z_Show.asp?ArticleID=105

กฤติญา แสงภักดี, กัญจน์ ศิลปะสิทธิ์, ดวงรัตน์ แพงไทย และคนอื่นๆ. (2557). การศึกษาพฤติกรรมการใช้สารเคมีในการกำจัดศัตรูพืชของชาวนา อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก. วารสารแก่นเกษตร, 42(3), 375-384.

ความเสี่ยงและอันตรายจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรม.สืบค้นเมื่อ 16 กันยายน 2559, จาก http://www.skko.moph.go.th/dward/document_file/environment/common_form_upload_file/20140628144454_37494193.pdf

ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงาน. สืบค้นเมื่อ 19 กันยายน 2559, จาก http://cca.kmitl.ac.th/manual/manual.html คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. (2552).

คู่มือการบริหารความเสี่ยง. สืบค้นจาก http:// www.osun.org
จิว เชาว์ถาวร, ชวพรพรรณ จันทร์ประสิทธิ์, วรันธรณ์ จงรุ่งโรจน์สกุล. ภาวะสุขภาพตามความเสี่ยงจาก
การทำงานของเกษตรกรปลูกหอมแดง ตำบลจำป่าหวาย อำ เภอเมือง จังหวัดพะเยา.
Nursing JournalVolume 41 No.2 April-June 2014. (35-47) สืบค้นจาก file:///C:/Users/User/Downloads/3173070291-1-SM%20(1).pdf (Cole, 2006; Doham &Thelin, 2006)

จุฑารัตน์ จิโน และ วิโรจน์ เจียมจรัสรังษี. (2558). การศึกษาลักษณะและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการบาดเจ็บจากการทำงานของ ชาวนาอำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย. วารสารธรรมศาสตร์เวชสาร,15(2), 242-250.

ดาริวรรณ เศรษฐีธรรม, กาญจนา นาถะพินธุ วรรณภา, อิชิดะ และทวีศักดิ์ ปัดเต. (2556, เมษายน-มิถุนายน
พฤติกรรมเสี่ยงและปัจจัยที่ส่งผลต่อสภาวะสุขภาพของเกษตรกรทำนา. วารสารวิจัยสาธารณสุข
ศาสตร์, 6(2), http://thailand.digitaljournals.org/index.php/KKPHR/article/viewFile/24860

/24107ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ. สืบค้นเมื่อ 19 กันยายน 2559, จาก http://www.healthcarethai.com/%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%97%E0%B8%9A%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%B 8%E0%B8%82%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E/

นภมณ ยารวง และพัชรพร สุคนธสรรพ์. (2559, พฤษภาคม-สิงหาคม). พฤติกรรมความปลอดภัยใน การทำงานและภาวะสุขภาพของเกษตรกรชาวนา ในจังหวัดเชียงราย. วารสารพยาบาล ทหารบก, 17(2), https://www.tci-thaijo.org/index.php/JRTAN/article/view/66882/54754

ไพทูรย์ เหลามี. (2556). อาชีพหลักของคนไทยอาชีพที่สำคัญของประชากรไทย. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2559, จาก http://nalove030.blogspot.com/2013/02/blog-post_5296.html

มาลี ศักดิ์เจริญชัยกุล วิโรจน์ จันทร และสรัญญา ถี่ป้อม (2559). การศึกษาผลของนวัตกรรมถังหยอดข้าวต่อ
การป้องกันท่าทางการทำงานที่ไม่เหมาะสม และลดความปวดของกล้ามเนื้อหลัง : กรณีศึกษา
เกษตรกรปลูกข้าว ในจังหวัดเพชรบูรณ์. วารสารควบคุมโรค ปีที่ 42 ฉบับที่ 3 ก.ค. - ก.ย.

รุ้งทิพย์ พันธุเมธากุล, วัณทนา ศิริธราธิวัตร, ยอดชาย บุญประกอบ, วิชัย อึงพินิจพงศ์ และมณเฑียร พันธุ
เมธากุล. (2555, กันยายน-ธันวาคม). ความชุกของภาวะความผิดปกติของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อในชาวนา:กรณีศึกษาตำบลศิลา อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น. วารสารเทคนิคการแพทย์และกายภาพบำบัด,23(3),http://www.tcithaijo.org/index.php/ams/article/viewFile /66231/54180

สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองเชียงราย. (2559). รายชื่อเกษตรกรผู้ปลูกข้าว 2559/60 สำหรับตรวจสอบพื้นที่จริง. สำนักพิมพ์สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองเชียงรายสำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2555). สรุปผลที่สำคัญ การสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ.2555. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2559, จากhttp://service.nso.go.th/nso/nsopublish/themes/files/SociosumRep55.pdf

สำมโนการเกษตรกรภาคเหนือ. (2556). สืบค้นเมื่อ 15กันยายน 2559,จากhttp://www.fao.org/fileadmin/
templates/ess/ess_test_folder/World_Census_Agriculture/Country_info_2010/Reports/Reports_5/THA_ENG_THA_PRE_REP_2013.pdf

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2558). สถิติการเกษตรของประเทศไทย ปี 2558. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2559, จาก http://www.oae.go.th/download/download_journal/2559/yearbook58.pdf

สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค. (2558). สถานการณ์โรคและภัย สุขภาพในกลุ่มเกษตรกร. สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2559, จาก http://www.thaipan.org
สำนักงานสถิติจังหวัดเชียงราย (2560). จำนวนเกษตรกรที่ปลูกข้าวทุกชนิด. สืบค้นเมื่อ 27 กรกฎาคม 2560,
จาก http://chiangrai.nso.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=295:2017-03-
21-05-07-37&catid=86:2011-10-11-07-23-41&Itemid=579

สุวัสสา เพ็งสีแสง (2552) ปัญหาด้านการยศาสตร์และปัจจัยที่เกี่ยวข้องในชาวนา ตำบลศรีวิชัย อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนครสืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2559, จากcmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/13985?mode=ful

อนามัย เทศกะทึก. (2553). การประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพ 2553. กรุงเทพมหานคร. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Downloads

เผยแพร่แล้ว

22-05-2018

How to Cite