ชีวิตที่ออกแบบเองได้ของคนโสดที่อาศัยอยู่ตามลำพัง
บทคัดย่อ
การศึกษานี้เพื่อศึกษาแนวโน้มของประชากรโสดในประเทศไทยและการอยู่อาศัยของคนโสดที่อาศัยอยู่ตามลำพัง ใช้ข้อมูลจากสำมะโนประชากรและเคหะ พ.ศ.2513-2553 พบว่า จำนวนคนโสดในประเทศไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงทางประชากรสู่สังคมสูงวัยรวมถึงนโยบายทางเศรษฐกิจและสังคม ทำให้อายุเฉลี่ยเมื่อแรกสมรสเพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่เขตเมือง สำหรับการอยู่อาศัยของคนโสดที่อาศัยตามลำพังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เนื่องจากคนโสดมีแนวโน้มที่จะต้องใช้ชีวิตอย่างไม่มีคู่และไม่มีบุตร และในอนาคตมีการสูญเสียสมาชิกในครอบครัว ทำให้ต้องใช้ชีวิตตามลำพังในที่สุด นอกจากนั้นคนโสดมีคุณสมบัติในการเข้ารับการศึกษามากที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับผู้ที่มีสถานภาพสมรสอื่น ทำให้มีโอกาสในการต่อยอดในการทำงาน สร้างฐานะเศรษฐกิจได้ดี จึงสามารถออกแบบชีวิตการอยู่อาศัยของตนเองได้
ข้อเสนอแนะ คนโสดที่อยู่ตามลำพังต้องพึ่งพาตัวเอง ทำให้บางส่วนต้องรับภาระเพียงลำพัง จำเป็นต้องการความช่วยเหลือจากบุคคลภายนอกเป็นพิเศษ
References
กุสุมา ประชุมชนะ. (2534). ชีวิตความเป็นอยู่ของผู้หญิงสูงอายุที่อาศัยอยู่ตามลำพัง. (วิทยานิพนธ์ปริญญาสังคมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิจัยประชากรและสังคม). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. นครปฐม.
จรัมพร โห้ลำยอง และ สวรัย บุญยมานนท์. (2552). ปัจจัยทางเศรษฐกิจกับการสร้างครอบครัว. ใน ชาย โพธิสิตา และสุชาดา ทวีสิทธิ์ (บรรณาธิการ), ประชากรและสังคม 2552 ครอบครัวในสถานการณ์เปลี่ยนผ่านทางสังคมและประชากร (หน้า 48-69). นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
ชาย โพธิสิตา. (2552). เกิดอะไรขึ้นกับครอบครัว?. ใน ชาย โพธิสิตา และสุชาดา ทวีสิทธิ์ (บรรณาธิการ), ประชากรและสังคม2552 ครอบครัวไทยในสถานการณ์เปลี่ยนผ่านทางสังคมและประชากร (หน้า 1-15). นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
ชาย โพธิสิตา. (2554). การเปลี่ยนแปลงครอบครัวและครัวเรือนไทย เรา (ไม่) รู้อะไรบ้าง. ใน สุรีย์พร พันพึ่ง และ มาลี สันภูวรรณ์ (บรรณาธิการ), ประชากรและสังคม 2554 จุดเปลี่ยนสังคมไทย (หน้า 23-41). นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
ปราโมทย์ ประสาทกุล และ ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์ (2552). มิติประชากรและครอบครัวของคนสองรุ่น. ใน ชาย โพธิสิตา และสุชาดา ทวีสิทธิ์ (บรรณาธิการ), ประชากรและสังคม 2552 ครอบครัวในสถานการณ์เปลี่ยนผ่านทางสังคมและประชากร (หน้า 13-22). นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
ปราโมทย์ ประสาทกุล. (2543). ประชากรศาสตร์:สารัตถศึกษาเรื่องประชากรมนุษย์. กรุงเทพมหานคร: อัมรินทร์ พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
ปราโมทย์ ประสาทกุล. (2552). ประเทศไทย ควรมีพลเมืองเท่าไหร่จึงจะดี. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
ปังปอนด์ รักอำนวยกิจ. (2552). บทสังเคราะห์นโยบาย ยุทธศาสตร์ การบริหารจัดการ และแรงกดดันในการนำเข้าแรงงานข้ามชาติของประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานแรงงาน ระหว่างประเทศ.
ภัสสร ลิมานนท์ และคณะ. (2553). การศึกษาภาวะสมรสและทัศนคติต่อการสมรสของสตรีไทยในสังคมยุคใหม่. กรุงเทพมหานคร: วิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ยศ สันตสมบัติ. (2556). มนุษย์กับวัฒนธรรม. ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 4 แก้ไขเพิ่มเติม. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2557). พจนานุกรมศัพท์ประชากรศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพมหานคร: ราชบัณฑิตยสถาน.
ศุทธิดา ชวนวัน และ ปิยวัฒน์ เกตุวงศา. (2556). ทำไมผู้หญิงไม่แต่งงาน: ผู้ชายหายไปไหน. ใน ยุพิน วรสิริอมร จงจิตต์ ฤทธิรงค์ ศุทธิดา ชวนวัน และพจนา หันจางสิทธิ์ (บรรณาธิการ), ประชากรและสังคม 2554 การเกิดกับความมั่นคงในประชากรและสังคม (หน้า 23-42). นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. (2547). ศัพทานุกรมการวิจัยทางประชากรและสังคม. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2555). สรุปผลที่สำคัญ การทำงานของผู้สูงอายุในประเทศไทย พ.ศ.2554.กรุงเทพฯ: สำนักงานสถิติแห่งชาติ.
_________. (ม.ป.ป. ก). 3 ทศวรรษกับการมีส่วนร่วมของสตรีในตลาดแรงงาน. สืบค้นเมื่อ 2 กันยายน 2559, จาก http://popcensus.nso.go.th/topic.php?cid=8
_________. (ม.ป.ป. ข). ครัวเรือนไทย. สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2558, จาก http://popcensus.nso.go.th/
topic.php?cid=11
_________. (ม.ป.ป. ค). มองภาพครัวเรือนไทยในรอบ 10 ปี. สืบค้นเมื่อ 26 สิงหาคม 2559, จาก http://
service.nso.go.th/nso/nsopublish/citizen/news/news_59.jsp
_________. (ม.ป.ป. ง). รายงานสำมะโนประชากรและเคหะ พ.ศ. 2553. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานสถิติแห่งชาติ.
สิรินทร์ญา ไข่เขียว. (2557). ความต้องการการช่วยเหลือของผู้สูงอายุไทยที่อาศัยอยู่ตามลำพัง. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิจัยประชากรและสังคม). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. นครปฐม.
อมรเทพ จาวะลา. (2556). การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างครัวเรือนไทย : ชีวิตคนไทยในสองทศวรรษของการพัฒนา. มิ่งสรรพ์ ขาวสะอาด และ ณัฏฐาภรณ์ เลียมจรัสกุล (บรรณาธิการ), เชียงใหม่: แผนงานสร้างเสริมนโยบายสาธารณะที่ดี.
Chuanwan S., (2005). Living Arrangements of Unmarried Elderly Women in Thailand. Master of Art (Population and social research), Mahidol University.
Davis Kingsley. (1963). The Theory of Change and Response in Modern Demographic History. Population Index 29, 4 October : 234-366.
Gavin W. Jones. (2010). Tradition and Change in Marriage and Family Life. Asia Research Institute & Department of Sociology National University of Singapore. Working Paper Series No.131.
Podhisita, C. (1991). The rural Thai Family: Some observations and research needs. Proceedings of the Nihon University International Symposium on Family and Contemporary Japanese Culture: An International Perspective. October 20-24, 1990. Japan: University Research Centre, Nihon University, Tokyo.
Rodman, H. (1965). Marriage Family and Society. A Reader. New York: Random House.
Stella. (2015). Family in Asia. Retrieved January 1, 2016, from https://www.routledgehandbooks.com/
doi/10.4324/9781315881706.ch3
United Nations. (1988). First Marriage: Patterns and Determinants. New York: United Nations Population Deviation, Department of International Economic and Social Affairs.
Victoria A. Velkoff. (2001). Living arrangements and well- being of the older population: future research directions. Journal of Population Bulletin of the United Nations, Nos. 42/43-2001.