การสร้างชุดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับทาง เรื่อง มัลติมีเดียเบื้องต้น สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเวียงเจดีย์วิทยา

ผู้แต่ง

  • Praparat Lakat

คำสำคัญ:

การเปิดเสรีการค้า, ผู้ให้บริการโลจิสติกส์, การบริการขนส่งทางทะเลของไทย, โลจิสติกส์

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์หลักดังนี้  1)  เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพชุดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับทางเรื่อง มัลติมีเดียเบื้องต้นสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  5  โรงเรียนเวียงเจดีย์วิทยา  2)  เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการใช้ชุดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับทาง รายวิชามัลติมีเดียเบื้องต้นสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  5  โรงเรียนเวียงเจดีย์วิทยากับเกณฑ์สถานศึกษากำหนดและ  3)  เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการใช้ชุดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับทาง  เรื่อง  มัลติมีเดียเบื้องต้นสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  5  โรงเรียนเวียงเจดีย์วิทยา

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ได้แก่  กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  5/1  โรงเรียนเวียงเจดีย์วิทยา  อำเภอลี้  จังหวัดลำพูน  ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา  2557  จำนวน  45  คน  ที่ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง 

ผลการศึกษาค้นคว้าพบว่า  1)  ผลการประเมินชุดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับทาง  เรื่อง มัลติมีเดียเบื้องต้น  สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  5 โรงเรียนเวียงเจดีย์วิทยา โดย ผู้เชี่ยวชาญมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด  ( gif.latex?\bar{X}= 4.54, S.D.=0.50)  และผลการหาประสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 (81.78, 82.13)  2)  ค่าคะแนนเฉลี่ยจากการทำแบบทดสอบหลังเรียนของนักเรียนทุกคน เท่ากับ  41.07  คิดเป็น ร้อยละ  82.13  สูงกว่าเกณฑ์สถานศึกษากำหนด  3)  ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชุดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับ โดยรวมอยู่ในระดับมาก  ( gif.latex?\bar{X}4.31,SD=0.64)

 

References

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ หลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2544. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ.

กรองกาญจน์ อรุณรัตน์. (2536). ชุดการเรียนการสอน. เชียงใหม่: ภาควิชาเทคโนโลยีทางการศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

กาญจนา วัฒายุ. (2548). การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา. กรุงเทพฯ: ธนพรการพิมพ์.

กิดานันท์ มลิทอง. (2537). เทคโนโลยีการศึกษาร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ขวัญจิตร ภิญโญชีพ.(2534). หลักการและทฤษฎีเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา.
กรุงเทพฯ: วิทยาลัยครูจันทรเกษม.

ครรชิต มาลัยวงศ์. (2537). T in University Education เทคโนโลยีสารสนเทศ. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

จันทิมา ปัทมธรรมกุล. (2555). ทำความรู้จัก Flipped Classroom. สืบค้นเมื่อ 8 เมษายน 2557, จาก http://www2.li.kmutt.ac.th/thai/article/gettingtoknow.html.
ชัยยงค์ พรหมวงศ์ และคณะ. (2521). ระบบสื่อการสอน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ไชยยศ เรืองสุวรรณ. (2526). เทคโนโลยีการศึกษา หลักและแนวปฏิบัติ. มหาวิทยาลัยหาสารคาม:ศรีนครินทร วิโรฒ มหาสารคาม.

ทักษิณา สวนานนท์. (2529, กันยายน). “คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)” คอมพิวเตอร์รีวิว.

ทัศนวรรณ รามณรงค์. (2556). ห้องเรียนกลับด้าน. สืบค้นเมื่อ 8 เมษายน 2557, จาก http://www.gotoknow.org/posts/548870

ธนาพงษ์ สาวฤทธิ์. (2554). การใช้ชุดการเรียนการสอนแบบศูนย์การเรียนเพื่อพัฒนากระบวนการทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองแบบอิสระศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย,มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

นงนิด บุญประสิทธิ์. (2545). ผลการพัฒนาการเรียนการสอน กลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต
โดยกิจกรรมการเรียนการสอนแบบมุ่งประสบการณ์ภาษาและบูรณาการของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. ศูนยข้อมูลการวิจัย วช., พะเยา

นิชาภา บุรีกาญจน์. (2557). ผลการจัดการเรียนรู้วิชาสุขศึกษาโดยใช้แนวคิดแบบห้องเรียนกลับด้านที่มีผลต่อความรับผิดชอบและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น. มหาบัณฑิตสาขาวิชา สุขศึกษาและพลศึกษาภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

นิพนธ์ ศุขปรีดี. (2546). นวัตกรรมเทคโนโลยีเพื่อสื่อสารการศึกษา. กรุงเทพฯ: นีลนราการพิมพ์.

นิรมล ศตวุฒิ. (2526). ชุดการเรียนแบบเอกัตบุคคลน่าจะมีบทบาทในมหาวิทยาลัยตลาดวิชา. รามคำแหง.กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

ปางลีลา บูรพาพิชิตภัย. (2556). การพัฒนาแผนการสอนโดยใช้แท็บเล็ต วิชาสังคมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา) ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2544). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือราชภัฎพระนคร.
ภาควิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2550). สื่อการสอนเล่ม 3. อุปกรณ์การเรียนการสอนเชียงใหม่: ภาควิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

โยธิน ศันสนยุทธ. (2533). จิตวิทยา. ภาควิชาจิตวิทยา คณะครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ยืน ภู่วรวรรณ. (2529, มีนาคม – เมษายน). “การใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในการเรียนการสอน”
วารสารวิทยาลัยครูจันทรเกษม. 189, 1 – 11.

ยุทธ ไกยวรรณ์. (2545). พื้นฐานการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สุวิริยาสาสน์

รุ่งนภา นุตราวงศ์. (2555). การจัดการเรียนรู้แบบกลับด้าน. สืบค้นเมื่อ 11 เมษายน 2557, จาก http://mathsrichan.blogspot.com.

ลัลน์ลลิต เอี่ยมอำนวยสุข. (2556). การสร้างสื่อบนอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพา เรื่องการเคลื่อนไหวในระบบดิจิตอลเบื้องต้นที่ใช้วิธีสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน.
ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต เทคโนโลยีการเรียนรู้และสื่อสารมวลชน, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, กรุงเทพฯ.
วรวิทย์ นิเทศศิลป์. (2551). สื่อและนวตักรรมแห่งการเรียนรู้. ปทุมธานี: สกายบุ๊กส์.
วัฒนาพร ระงับทุกข์. (2543). แผนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช จำกัด.
วันเฉลิม อุดมทวี. (2556). การพัฒนาความสามารถการคิดเชิงบูรณาการและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 และ 2 ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือและใต้ โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Learning) ร่วมกับเทคนิคห้องเรียนกลับทาง (Flipped Classroom). ปริญญาโท โครงการพิเศษคณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.

วิจารณ์ พานิช. (2556). ครูเพื่อศิษย์สร้างห้องเรียนกลับทาง. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสยามกัมมาจล.

วารินทร์ รัศมี. (2542). การออกแบบพัฒนาระบบการสอนภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วิชัย วงษ์ใหญ์. (2530). วิธีการสร้างชุดการเรียนด้วยตนเอง. เอกสารประกอบคำบรรยายเรื่อง การสอนทางไกล. กรุงเทพฯ: สถาบันข้าราชการพลเรือน.

สหัสนัยน์ จิตรกุล. (2555). การพัฒนาชุดการเรียนรู้โครงงานประวัติศาสตร์เพื่อพัฒนากระบวนการคิดเชิงวิพากษ์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนส่วนบุญโญปถัมภ์ ลำพูน. การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองแบบอิสระศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

สำนักงานคณะกรรมการศึกษาแห่งชาติ. (2543). แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2545-2559): กรุงเทพฯ.

สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2552). “ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552-2561). กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.

สุคนธ์ สินธพานนท์. (2551). นวัตกรรมการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาคุณภาพของเยาวชน.
กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด 9119 เทคนิคพริ้นติ้ง.

สุชาดา มะโนทัย. (2539). การศึกษาพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุวิทย์ มูลคำ และอรทัย มูลคำ. (2546). 20 วิธีการจัดการเรียนรู้: เพื่อพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมค่านิยม และการเรียนรู้โดยการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.

สิทธิโชค วรานุสันติกุล. (2529). การจัดการพฤติกรรมมนุษย์. นครปฐม: มหาวิทยาลัย
ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์.

อรพันธุ์ ประสิทธิรัตน์. (2530). คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัท คราฟแมนเพรส จำกัด.

อัญชนา โพธิพลากร. (2545). การพัฒนาชุดการเรียนคณิตศาสตร์ที่เน้นทักษะการแก้ปัญหา ทางคณิตศาสตร์ด้วยการเรียนแบบร่วมมือชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การมัธยมศึกษา) บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.

อัษฎางค์พร มหายศนันท์. (2547). การสร้างชุดการสอนแบบศูนย์การเรียน เรื่องประเพณีท้องถิ่นของเรา สำหรับผู้เรียนช่วงชั้นที่ 2 โรงเรียนบ้านเป้าวิทยาคาร จังหวัดเชียงใหม่. การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองแบบอิสระศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

Academic Medicine. (2014). The Flipped Classroom: A Course Redesign to Foster Learning and Engagement in a Health Professions School. Association of American Medical Colleges.

Cara A. Marlowe. (2012). The Effect of the Flipped Classroom on Student Achievement and Stress. Master of Science, Montana State University Bozeman, Montana.

Duane, James E. (1973). Individualized Instruction Programs and Materials.
New Jersey: Englewood Cliffs.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

25-05-2018

How to Cite