มิติของการพัฒนาสมรรถนะครูวิทยาศาสตร์ในการจัดการเรียนการสอน เพื่อส่งเสริมการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ของนักเรียน
บทคัดย่อ
มิติของการพัฒนาสมรรถนะครูวิทยาศาสตร์ในการจัดการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ของนักเรียน เป็นการแสดงถึงองค์ประกอบและตัวบ่งชี้สมรรถนะครูวิทยาศาสตร์ในการจัดการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ของนักเรียนซึ่งถือว่าเป้าหมายของการพัฒนา และแนวทางการพัฒนาสมรรถนะ ผลการศึกษาพบว่า องค์ประกอบและตัวบ่งชี้สมรรถนะครูวิทยาศาสตร์ในการจัดการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ของนักเรียนประกอบด้วย 39 ตัวบ่งชี้ สามารถจัดเข้าองค์ประกอบได้ 5 องค์ประกอบ และแนวทางการพัฒนาสมรรถนะประกอบด้วย วิธีการพัฒนาสมรรถนะ ได้แก่ การอบรมเชิงปฏิบัติการ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน การสะท้อนคิด การชี้แนะและให้คำปรึกษา วิธีการติดตามได้แก่ การสังเกตการสอน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน การสะท้อนคิด วิธีวัดและประเมินสมรรถนะ ได้แก่ การประเมินตนเอง การประเมินจากเพื่อนครู ผู้เชี่ยวชาญ และผู้บริหาร และประเมินการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ที่เกิดขึ้นกับนักเรียน
References
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
นงนิตย์ มรกตและคณะ (2556).เอกสารประกอบการสอน การรู้วิทยาศาสตร์Scientific Literacy in
Globlalzed Society สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
นงลักษณ์ วิรัชชัย . (2551). การพัฒนาตัวบ่งชี้การประเมิน. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ เปิดขอบฟ้าคุณธรรมจริยธรรม ณ.โรงแรมแอมบาสเดอร์. วันที่ 29 สิงหาคม 2551.
ประเวศน์ มหารัตน์สกุล (2556) การจัดการทรัพยากรและพัฒนามนุษย์ กรุงเทพฯ:ปัญญาชน
พศิน แตงจวง.(2554) รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรทางการศึกษา.กรุงเทพฯ.ดวงกมลพับลิชชิ่ง
พิสณุ ฟองศรี.2551)การประเมินทางการศึกษา:แนวคิดสู่การปฏิบัติ.พิมพ์ครั้งที่ 5.กรุงเทพฯ.
พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และคณะ (2557). การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์ฯ
เพชรน้อย สิงห์ช่างชัย. (2549). หลักการและการใช้สถิติการวิเคราะห์ตัวแปรหลายตัว สำหรับการวิจัย
ทางการพยาบาล (พิมพ์ครั้งที่ 3). สงขลา: ชานเมืองการพิมพ์.
ยุทธ ไกยวรรณ์.(2556). วิเคราะห์ข้อมูล 4 . กรุงเทพฯ. ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ
ยุทธนา ปฐมวรชาติ. (2547). หลักการและทฤษฎีทางจิตวิทยาการศึกษา : มโนทัศที่ครูผู้สอนควรทบทวน.
วารสารวิชาการ.มกราคม-มีนาคม : หน้า 23.
ยุพา วีระไวทยะ (2539) มาตรฐานการศึกษาวิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่21. วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน11(3)
รุ่ง แก้วแดง (2541)ปฏิวัติการศึกษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: มติชน.
วรัญญา จีระวิพูลวรรณ (2546) การพัฒนาครูวิทยาศาตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นให้ จัดการเรียนรู้ตามแนว
คอนสตรักติวิซึม:กรณีศึกษาโรงเรียนหนึ่งในจังหวัด อุดรธานี ปริญญาศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต(วิทยาศาสตร์ศึกษา) สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา ภาควิชาการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ศิรภัสสรศ์ วงศ์ทองดี (2556) .การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์.กรุงเทพฯ.สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2556) ผลการประเมิน PISA 2012 คณิตศาสตร์
การอ่านและวิทยาศาสตร์ กรุงเทพฯ. แอดว๊านซ์ พริ้นติ้ง จำกัด
(2555) ครูวิทยาศาสตร์มืออาชีพ แนวทางสู่ การเรียนการสอนที่มีประสิทธิผล.กรุงเทพฯ.อินเตอร์เอ็ดดูเคชั่น ซัพพลายส์
สมฤทธิ์ ยศสมศักดิ์ (2549). การบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: เอ็ม.ที.เพลส.
สุจิตรา ธนานันท์(2553) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์.กรุงเทพฯ: ทีพีเอ็น เพรส
สุธาวัลย์ มีศรี.(2550)ศึกษาผลของโปรแกรมพัฒนาวิชาชีพที่มีต่อความเข้าใจเรื่องธรรมชาติของวิทยาศาสตร์
และการจัดการเรียนรู้ของครูวิทยาศาสตร์ กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
สุวัฒน์ วัฒนวงศ์(2555) จิตวิทยาเพื่อการฝึกอบรมผู้ใหญ่ กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เสาวลักษณ์ โรมา. (2551). การพัฒนาหลักสูตร ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 3.
ปริญญานิพนธ์ กศ.ด. (วิทยาศาสตรศึกษา). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Bybee,R.W. and Funch,B. (2006 ) Preparing the 21st century workforce: A new reform in science and
technology education . Journal of Research in Science Teaching. 43(4),349-352
Carol Anelli(2011)Scientific Literacy:What Is It, Are We Teaching It, and Does It Matter? American
Entomologist Volume 57,Number4 : 235-243
Chris Impey (2013) Scientific Literacy of Undergraduates in the United States Organizations,People
and Strategies in Astronomy 2 (OPSA2):353-364
Comrey & Lee (1992). A first course in factor analysis. Hillsdale, NJ: Erlbaum.
Dillon, A. and Norris, A. (2005) Crying Wolf: an examination and reconsideration of the perception
of crisis in LIS education. Journal of Education in Library and Information Science, 46,4
280-298
Johns, C. (2000). Becoming a Reflective Practitioner. London: Blackwell Science.
Johnstone, J. N. (1981). Indicators of education system. London: Unesco.
Linda Darling – Hammond. (2000). Teacher Quality and Student Achievement: A Review of State
Policy Evidence. Education Policy Analysis Archives. Volume 8 Number 1 January 1,2000
Norris and Phillips 2003, How literacy in its fundamental sense is central to scientific literacy
Science Education Volume 87, Issue 2, pages 224–240, March 2003
Ubben, G.C.; Hughes, L.W.; and Norris, C.J., (2001). The Principal: Creative Leadership for Effective
Schools. 4thed., Boston: Allyn & Bacon.