การพัฒนาความสามารถคิดเชิงวิพากษ์ ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานสำหรับนิสิตวิชาชีพครูในศตวรรษที่ 21
คำสำคัญ:
ความสามารถคิดเชิงวิพากษ์, วิธีการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน, นิสิตวิชาชีพครูบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาความสามารถคิดเชิงวิพากษ์ โดยวิธีการเรียนรู้แบบใช้ปัญหา เป็นฐาน สำหรับนิสิตวิชาชีพครูในศตวรรษที่ 21 กลุ่มตัวอย่างคือ นิสิตวิชาชีพครูหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษา วิชาเอกภาษาไทย ชั้นปีที่ 3 จำนวน 1 ห้องเรียน รวม 32 คน ภาคการศึกษาที่ 2 ปี การศึกษา 2559 มหาวิทยาลัยพะเยา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แผนการจัดการเรียนรู้พัฒนาความสามารถคิดเชิงวิพากษ์ โดยวิธีการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน สำหรับนิสิตวิชาชีพครูในศตวรรษที่ 21 รายวิชา 161322 การออกแบบและจัดการเรียนรู้ 2 ดำเนินการตามแผนการวิจัยกลุ่มเดียวทดสอบก่อน-หลังเรียนวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานร้อยละและการทดสอบค่าที (Paired-Samples T-Test) ผลการวิจัยพบว่า ผลการพัฒนาความสามารถคิดเชิงวิพากษ์ ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน
สำหรับนิสิตวิชาชีพครูในศตวรรษที่ 21 จากการวิเคราะห์โจทย์สถานการณ์ปัญหาก่อนและหลังการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 24.28 ค่าเฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ 40.15 มากกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 ส่วนการประเมินปฏิบัติการความสามารถคิดเชิงวิพากษ์ ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน สำหรับนิสิตวิชาชีพครูในศตวรรษที่ 21 ตามสถานการณ์ปัญหา 3 สถานการณ์ มีผลการประเมินในภาพรวมค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด = 4.60, S.D. = 0.13
References
กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.
กองบริหารงานวิจัยและประกันคุณภาพการศึกษา. (2559). Thailand 4.0 โมเดลขับเคลื่อนประเทศไทยสูค่ วามมั่งคั่ง
มั่งคงและยั่งยืน. สืบค้นเมื่อ 19 พฤศจิกายน 2560, จาก https://www.libarts.up.ac.th/v2/img/
Thailand-4.0.pdf
ทิศนา แขมมณี. (2544). วิทยาการด้านการคิด. กรุงเทพฯ: บริษัทเดอะมาสเตอร์กรุ๊ป แมนเนจเม้นท์ จำกัด.
__________. (2552). การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน. สืบค้นเมื่อ 19 พฤศจิกายน 2560, จาก https://
www.tci-thaijo.org/index.php/vrurdihsjournal/article/
บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น ฉบับปรับปรุงใหม่ (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: สุวีริยสาส์น.
ไพศาล สุวรรณน้อย. (255 8). การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning: PBL). สืบค้น
เมื่อ 15 พฤศจิกายน 2560, จาก https://ph.kku.ac.th/thai/images/fi le/km/pbl-he-58-1.pdf
ภัทราวดี มากมี. (2555). การเรียนที่ใช้ปัญหาเป็นฐาน. สืบค้นเมื่อ 15 พฤศจิกายน 2560, จาก https://www.
east.spu.ac.th/spucknowledge/document/PBL_SPU-new.pdf
รุ่งทิวา กองสอน. (2560). การพัฒนาทักษะและเทคนิคการสอนเคมีด้วยวิธีการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน
สำหรับนิสิตวิชาชีพครูในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
วิจารณ์ พานิช. (2559). การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21. สืบค้นเมื่อ 9 พฤศจิกายน 2560, จาก https://
www.edulpru.com/eu/21st/st- 003.pdf
ศักดิ์ศรี สุภาษร. (2552). การออกแบบการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ศึกษา. อุบลราชธานี: คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
อานุภาพ เลขะกุล. (2559). การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน. สืบค้นเมื่อ 9 พฤศจิกายน 2560, จาก https://
www.huso.buu.ac.th/fi le/2559/Active Learning/Document/
อิสระ ยงปิยะกุล. 2557. การคิดเชิงกลยุทธ์และการคิดเชิงวิพากษ์เพื่อยกระดับการตัดสินใจ. กรุงเทพฯ:
เอพีเอ็ม กรุ๊ป.
Carin A., and Sund B., (1975). Teaching Modern Science. University of Northen Colorado,
Charles E.Merrill Publishing Company, A Bell & Hawell Company Columbus, Ohio.
Printed in the United States of America.
Emily R. Lai. (2011). Critical Thinking. [Online]. Available: https://images.pearsonassessments.
com/images/tmrs/CriticalThinkingReviewFINAL.pdf
Fraenkel and Wallen. (2006). How to Design and Evaluate Research in Education. McGraw-Hill
Higher Education.University Hal.l Boston: McGraw-Hill.
Solomon, J. (1993). Teaching Science, Technology and Society.Developing Science and
Technology Series.Open University Press. Buckingham Philadelphia.