การศึกษารูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ในโรงเรียนสังกัดการศึกษาขั้นพื้นฐานจังหวัดเชียงใหม่

ผู้แต่ง

  • Weerasak Chomphucome
  • Phichsinee Chomphucome

คำสำคัญ:

รูปแบบการจัดการเรียนการสอน, ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษากระบวนการบริหารจัดการการใช้หลักสูตร วิเคราะห์ลักษณะและวิเคราะห์ผลตามตัวชี้วัดความสำเร็จของการจัดการเรียนการสอน กลุ่มตัวอย่างโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ จำนวน 65 โรงเรียน เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถาม สถิติวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าเฉลี่ย ได้แก่ Z-test, t-test, F test (F), Welch’s test (FW) และข้อมูลเชิงคุณภาพวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยดังนี้ 1) กระบวนการบริหารจัดการการใช้หลักสูตรหลายด้านอยู่ในระดับมาก ใช้กระบวนการแบบมีส่วนร่วม สร้างความเข้าใจของคณะครูในการรับนโยบายการจัดการศึกษาในรูปแบบต่างๆ 2) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมีการบูรณาการ การสร้างกิจกรรมใหม่ การจัดกิจกรรมเป็นฐานการเข้ากลุ่มแบบระดับชั้น ช่วงชั้นหรือคละชั้น ตามความเหมาะสมของบริบทของโรงเรียน 3) ความสำเร็จของการจัดการเรียนการสอนหลายตัวชี้วัด อยู่ในระดับมาก คะแนนเฉลี่ยความคิดเห็นของนักเรียน ผู้ปกครอง ครูผู้สอนและผู้บริหาร อย่างน้อย 1 กลุ่มที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.01

References

ข่าวสำนักงานรัฐมนตรี 283/2558. ประกาศนโยบาย “การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”. สืบค้นจาก https://www.
moe.go.th/websm/2015 /aug/283.html

ชนากานต์ แปงพั๊วะ. (2552). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของคณะกรรมการ
สถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครสวรรค์ เขต 2. (ครุศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาการบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. สืบค้นจาก ThaiLIS-Thai Library
Integrated System

บุญชม ศรีสะอาด. (2539). การแปลผลเมื่อใช้เครื่องมือรวบรวมข้อมูลแบบมาตราส่วนประมาณค่า. วารสาร
การวัดผลการศึกษา ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม ปีที่พิมพ์ 2539: 64-70. สืบค้นจาก https://edu.
msu.ac.th/jem/home/journal_show.php?ID=7

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553.
สืบค้นจาก https://www.mwit.ac.th/~person/01-Statutes/NationalEducation.pdf

ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2559). การศึกษา 4.0 เราต้องแปลงกับดักให้เป็นความหวังดี. การศึกษา 4.0 เป็นยิ่งกว่า
การศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

มหาวิทยาลัยราชนครินทร์. วิวัฒนาการศึกษาไทยและการศึกษาโลก. สืบค้นจาก https://www.slideshare.
net/ChainarongMaharak/ss-40004424

เวชฤทธิ์ อังกนะภัทรขจร. (2555). การประยุกต์ใช้ Teach Less, Learn More (TLLM) สู่การรจัดการเรียนรู้
ในชั้นเรียนคณิตศาสตร์. วารสารศึกษาศาสตร์ ปีที่ 23 ฉบับที่ 1 ตุลาคม 2554-มกราคม 2555: 1-11.

ศิลป์ชัย ทัศณีวรรณ์. (2549). ปัจจัยที่ส่งเสริมและปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษาที่จัดการศึกษาช่วงชั้นที่ 3-4 สำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาพะเยา เขต 2. (ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏ
อุตรดิตถ์. สืบค้นจาก ThaiLIS-Thai Library Integrated System

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2558). คู่มือบริหาร
การจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”.

เสน่ห์ จามรริก. (2546). บทวิเคราะห์ว่าด้วยการศึกษากับปัญหาสภาวะความรู้มนุษย์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

Cribbie, Robert A., Wilcox, Rand R., Bewell, Carmen and Keselman, H. J. (2007). Tests for
Treatment Group Equality When Data are Nonnormal and Heteroscedastic. Journal
of Modern Applied Statistical Methods. May, 2007, Vol. 6, No.1: 117-132 สืบค้นจาก
https://digitalcommons.wayne.edu/cgi/viewcontent.cgi?article=1129&context=jmasm

Fraenkel, Jack R. and Wallen, Norman E. (2006). How to Design and Evaluate Research
in Education. (6th ed.). Mc Graw Hill.

Freund, John E. and Walpole, Ronald E. (1987). Mathematical Statistics. (4th ed.). New Jersey:
Prentice-Hall.

TeachThought Staff . A Diagram Of 21st Century Pedagogy. สืบค้นจาก https://www.teachthought.
com/the-future-of-learning/a-diagram-of-21st-century-pedagogy/

Zhang, Shuqiang. (1998). Fourteen Homogeneity of Variance Test: When and How To Use Them.
Paper presented at Annual Meeting of the American Education Research Association.
San Diego, California, April 13-17, 1998. สืบค้นจาก https://fi les.eric.ed.gov/fulltext/ED
422392.pdf

Downloads

เผยแพร่แล้ว

03-07-2018

How to Cite