ความคิดเห็นของผู้รับบริการที่มีต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลสะท้อน จังหวัดสงขลา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562

ผู้แต่ง

  • บุณิกา จันทร์เกตุ 0936145962
  • ไชยา เกษารัตน์ อาจารย์ประจำสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
  • อารยา สุขสม อาจารย์ประจำสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
  • วิรัตน์ บุญเลิศ อาจารย์ประจำสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
  • ชาญวิทย์ จันทร์อินทร์ อาจารย์ประจำสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
  • เพ็ญนภา จันทร์แดง อาจารย์ประจำสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
  • ศดานนท์ วัตตธรรม อาจารย์ประจำสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
  • ชนกนาถ พูลสวัสดิ์ อาจารย์ประจำสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
  • กรณิภา ศรีวรเดชไพศาล อาจารย์ประจำสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
  • วิศรุตา ทองแกมแก้ว อาจารย์ประจำสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
  • ปิยะนุช พรประสิทธิ์ อาจารย์ประจำวิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา วิทยาเขตสตูล

คำสำคัญ:

ความคิดเห็น, องค์การบริหารส่วนตำบล, ผู้รับบริการ

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นของผู้รับบริการที่มีต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลสะท้อน จังหวัดสงขลา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ประชาชนผู้ที่รับบริการใน 4 งาน ได้แก่ 1) งานด้านการศึกษา 2) งานด้านรายได้หรือภาษี 3) งานด้านพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม และ 4) งานด้านสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล จำนวน 400 คน โดยทำการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิโดยไม่ใช้สัดส่วน แบบโควตา และสุ่มแบบเจาะจง ผลการวิจัย พบว่า ระดับความคิดเห็นของผู้รับบริการที่มีต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลสะท้อน จังหวัดสงขลา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (gif.latex?\bar{x}=4.73) เมื่อจำแนกตามงาน พบว่า ระดับความคิดเห็นของผู้รับบริการที่มีต่อการให้บริการงานด้านการศึกษา มีระดับความคิดเห็นสูงสุด (gif.latex?\bar{x}=4.77) รองลงมา ได้แก่ งานด้านรายได้หรือภาษี (gif.latex?\bar{x}=4.73) และงานด้านพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม และงานด้านสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล มีค่าเฉลี่ยเท่ากัน (gif.latex?\bar{x}=4.71) ตามลำดับ

 

References

คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. (2561). รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองเหียง อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี ประจำปี 2561. สืบค้นเมื่อ 10 กันยายน 2562, จาก http://nhongheang.go.th/public/infocenter_upload/backend/files_1_1.pdf.

คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. (2561). รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองเหียง อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี ประจำปี 2561. สืบค้นเมื่อ 10 กันยายน 2562, จาก http://nhongheang.go.th/public/infocenter_upload/backend/files_1_1.pdf.

คณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ. (2561). รายงานผลการวิจัยเชิงสำรวจประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อการให้บริการสาธารณะขององค์การบริหารส่วนจังหวัดพังงา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561. สืบค้นเมื่อ 10 กันยายน 2562, จาก http://www.oic.go.th/FILEWEB/ CABINFOCENTER22/DRAWER054/GENERAL/DATA0001/00001143.PDF.

ไชยา เกษารัตน์, อารยา สุขสม, วิรัตน์ บุญเลิศ, ศดานนท์ วัตตธรรม, ชาญวิทย์ จันทร์อินทร์, กรณิภา ศรีวรเดชไพศาล และชนกนาถ พูลสวัสดิ์. (2561). ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลสะท้อน จังหวัดสงขลา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 5(3), 73-85.

ธวัชชัย สีมาพล. (2558). ความพึงพอใจของผู้ปกครองต่อการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลพนานิคม อำเภอนิคมพัฒนา จังหวัดระยอง. งานนิพนธ์หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

ธีรวุฒิ เอกะกุล. (2543). ระเบียบวิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. อุบลราชธานี: สถาบันราชภัฏอุบลราชธานี.

นันทวัฒน์ บรมานันท์. (2552). กฎหมายปกครอง. กรุงเทพฯ: วิญญูชน.

รุ่งอรุณ กระแสร์สินธุ์, ธารทิพย์ พจน์สุภาพ, อาจารีย์ ประจวบเหมาะ, และใกล้รุ่ง กระแสร์สินธุ์. (2560). การสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการขององค์การบริหารส่วนตำบลพรหมณี อำเภอเมือง จังหวัดนครนายก. วารสารสารสนเทศ. 16(1), 37-47.

สกุณา ชนะศึก และชัยยนต์ เพาพาน. (2556). การศึกษาความพึงพอในของผู้ปกครองต่อการจัดการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลในอำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม. 3(3), 83-89.

สุธรรม ขนาบศักดิ์. (2558). ความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นปีงบประมาณ พ.ศ.2557. วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ. 10(1), 35-51.

องค์การบริหารส่วนตำบลสะท้อน. (2562). แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 – 2564). สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2562, จาก http://www.sathon.go.th/

อัญชลี ดุสิตสุทธิรัตน์, ธรรมรัตน์ ศัลยวุฒิ, และสุวิมล นภาผ่องกุล. (2559). รายงานการวิจัย ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลบางโปรง อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ.

Bansal H. S., & Taylor S. F. (2015). Beyond Service Quality and Customer Satisfaction: Investigating additional Antecedents of Service Provider Switching Intentions. In Noble C. (eds) Proceedings of the 1999 Academy of Marketing Science (AMS) Annual Conference. Developments in Marketing Science: Proceedings of the Academy of Marketing Science. Springer, Cham, pp.75-82.

Chainit, A. (2017). A Study of People’s Satisfaction with the Service System of Bangkurud Sub-district Administration Organization (SAO), Bangbuathong District, Nonthaburi Province. Proceedings of The 10th MAC 2017. International Conference in Czech Technical University, Prague. 26th-27th May 2017, pp.37-41.

Kaura, V., Durga Prasad, Ch. D., & Sharma, S. (2015). Service quality, service convenience, price and fairness, customer loyalty, and the mediating role of customer satisfaction. International Journal of Bank Marketing, 33(4), pp.404-422.

Mansor, N. & Che Mohd Razali, Ch. H. (2010). Customers’ Satisfaction towards Counter Service of Local Authority in Terengganu, Malaysia. Asian Social Science. 6(8), pp.197-208.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

16-12-2020

How to Cite