แนวทางการพัฒนาศักยภาพศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง จังหวัดอุทัยธานี
คำสำคัญ:
การพัฒนา, ศักยภาพ, ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยแบบผสมผสาน Mixed Methods Research ประกอบด้วยการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) เพื่อศึกษาข้อมูลศักยภาพของศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง จังหวัดอุทัยธานี โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก กลุ่มผู้ปฏิบัติงาน ตัวแทนกลุ่มเกษตรกร เกษตรอินทรีย์ ผู้นำชุมชน เจ้าหน้าที่ภาครัฐ ภาคเอกชน จำนวน 32 ราย และศึกษามุมมองของนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาท่องเที่ยวภายในจังหวัด ใช้วิธีการเลือกแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) จำนวนกลุ่มตัวอย่าง 423 ราย ทำแบบสอบถามนำข้อมูลมาสรุป วิเคราะห์ผลเป็นร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เสนอแนวทางการพัฒนาศักยภาพศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง จังหวัดอุทัยธานี และเสนอแนวคิดด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการพัฒนาศักยภาพศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง จังหวัดอุทัยธานี
References
ตะวันออกเฉียงเหนือ. นครราชสีมา : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
กิตติศักดิ์ กลิ่นหมื่นไวย. (2557). การศึกษาศักยภาพและสร้างรูปแบบเส้นทางการท่องเที่ยวชุมชน
และมัคคุเทศก์ท้องถิ่นการท่องเที่ยวชุมชนเทศบาลตำบลนาครัว อำเภอแม่ทะ จังหวัด
ลำปาง. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี, 12(28), 85 – 97.
จักรกฤษณ์ แสนพรหม. (2556). ความจำเป็นของสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับนักท่องเที่ยว
ผู้สูงอายุและผู้สูงอายุในพื้นที่ กรณีศึกษา สถานที่ท่องเที่ยวซึ่งเป็นพระธาตุบริวารของ
พระธาตุพนม จังหวัดนครพนม (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สืบค้นจาก ฐานข้อมูล
วิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
ชิตวร ลีละผลินและภัทรชนม์ รัชตะหิรัญ. (2561). ปัจจัยสิ่งอำนวยความสะดวกของโฮมสเตย์ที่มีผล
ต่อความต้องการของนักท่องเที่ยว ไทยที่อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย. วารสารการวิจัยการ
บริหาร การพัฒนา, 8(2), 1 – 12.
ชาลินี บุญยะศัพท์. (2556). ความพร้อมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการ
บริหารงานของบุคลากร. วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา.
ชูสิทธิ์ ชูชาติ. (2544). รูปแบบการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในเขตลุ่มแม่น้ำวาง. กรุงเทพฯ : สำนักงาน
กองทุนสนับสนุนการวิจัย.
เดโช แสนภักดี. (2546). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมในโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ของ
สมาชิกกลุ่มอาชีพ จังหวัดขอนแก่น. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
นรเศรษฐ์ คำสี. (2560). อิทธิพลของการรับรู้เรื่องความปลอดภัยของแหล่งท่องเที่ยวผ่านสื่อสังคม
ออนไลน์ที่มีต่อการตัดสินใจเดินทางมาท่องเที่ยวจังหวัดเชียงใหม่ในประเทศไทย
(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สืบค้นจาก ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
นิสิต คำหล้า อนันต์ พลธานีและอรุณี พรมคำบุตร. (2557). บทบาทของการพัฒนาศูนย์เรียนรู้
เศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน : กรณีศึกษา อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น. วารสารแก่น
เกษตร, 42 ฉบับพิเศษ (2), 258 -264.
บัญญัติ พิลา. (2560). แรงจูงใจในการเดินทาง ความน่าเชื่อถือของข้อมูล การสื่อสารปากต่อปาก
แบบออนไลน์ ทัศนคติในการเดินทาง และการใช้สื่อสังคมออนไลน์ที่มีผล ต่อการ
ตัดสินใจอิเล็กทรอนิกส์(E-decision) เพื่อเลือกแหล่งท่องเที่ยว ในประเทศไทยของ
ผู้บริโภคในจังหวัดสระบุรี (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สืบค้นจาก ฐานข้อมูล
วิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2548). การวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. เชียงใหม่ : คณะ
มนุษยศาสตร์ สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ไพรัช ธัชยพงษ์และพิเชษฐ์ ดรุงเวโรจน์. (2541). เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา. สำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
วิรัญชนา ใจสม. (2560). การศึกษาปัจจัยการรับรู้สื่อสังคมออนไลน์ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเดินทาง
ท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สืบค้นจาก
ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ราณี อิสิชัยกุล. (2547). การจัดการทรัพยากรมนุษย์เพื่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ :
สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
เพ็ญศรี ฉิรินัง. (2558). แนวทางการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยว จังหวัดกาญจนบุรี. วารสารวิจัย
มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 1(1), 1-14.
ยุทธศักดิ์ สุภสร. (2562). ทิศทางท่องเที่ยวไทยในปี 2562. สืบค้นเมื่อ 29 มิถุนายน 2562, จาก
https://www.tatreviewmagazine.com.
สุรางค์รัตน์ อมรเลิศวรากุล. (2562). ผู้ประกอบการไทยควรรู้ “นักท่องเที่ยวจีนรุ่นใหม่” กลุ่ม
ผู้บริโภคที่ทรงอิทธิพลในปัจจุบัน. บทความการประชุมเวทีเสวนาภายใต้หัวข้อ“เจาะลึกและ
แสวงหาโอกาสในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวภายใต้กระแสความนิยมสมัยใหม่ของจีน” จัด
โดยบริษัท Now Travel AsiaMedia Group.
สุรวุฒิ วรวิทย์พินิต วรรณวีร์ บุญคุ้มและนรินทร์ สังข์รักษา. (2560). การพัฒนารูปแบบการจัดการ
ศูนย์การเรียนรู้ วิถีเมืองเพชรตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง, วารสารวิชาการ Veridian
E-Journal บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศิลปกร, 10(2), 1515 – 1529.
ศิรินันทน์ พงษ์นิรันดร, โอชัญญา บัวธรรมและชัชชญา ยอดสุวรรณ. (2559). แนวทางในการพัฒนา
ศักยภาพการจัดการท่องเที่ยว อำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา.วารสารวิทยาลัย
บัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 9 (1), 234-259.
เศวตฉัตร นาคะชาตและประสิทธิ์ กุลเทพพรหม. (2559). แนวทางการพัฒนาศักยภาพการสื่อ
ความหมายการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ในวิถีวัฒนธรรมโหนด นาเล ตำบลท่าหิน อำเภอ
ทิงพระ จังหวัดสงขลา. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารการวิจัย กาสะลองคำ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.