การพัฒนาหลักสูตรเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจโดยใช้เทคนิค เค ดับเบิลยู แอล พลัส สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ผู้แต่ง

  • พรรณทิพย์ภา ปาลวัฒน์

คำสำคัญ:

การพัฒนาหลักสูตร, เทคนิค KWL Plus, ทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อพัฒนาหลักสูตรและศึกษาผลการใช้หลักสูตรส่งเสริมทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจโดยใช้เทคนิค KWL Plus สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนมัธยมวิทยา จำนวน 40 คน ได้มาโดยวิธีแบบการสุ่มอย่างง่ายโดยวิธีการจับฉลาก เครื่องมือที่ใช้ คือ หลักสูตรส่งเสริมทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจโดยใช้เทคนิค KWL Plus สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และแบบทดสอบวัดทักษะการอ่าน ผลการวิจัยพบว่า ผลการสร้างหลักสูตรและเอกสารประกอบหลักสูตรมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากและนักเรียนมีคะแนนวัดทักษะการอ่านภาษาอังกฤษหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

References

Carr E. and Ogle D. (1987). “KWL Plus A Strategy for Comprehension and

Summarization”Journal of Reading.

Ernita, Hj. Hadriana, & Syafri. K. (2012). The Use of KWL Plus Strategy to Improve Reading Comprehension of The Second Year Students of SMP N 12 Pekanbaru. FKIP Universitas Riau.

Saylor Galen J. and Alexander, W.M. (1981). Planning Curriculum for Schools. 3rded. New York:Holt Rinchart and Winston.

กนกวรรณ คันธากร และ ศศิวิมล ชิน. (2556). การใช้เทคนิค KWL Plus เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านในการเรียน รายวิชาภาษาอังกฤษ 2 สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 1 มหาวทิยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ .

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.

กรุงเทพ โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร แห่งประเทศไทย.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2557). แนวปฏิบัติตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายการ

ปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ. กรุงเทพฯ: จามจุรีโปรดักส์ จำกัด.

เกษรา สมันนะ. (2551). เรียนลัด สนทนา ภาษาอังกฤษ. ฉะเชิงเทรา: ไทยเจริญการพิมพ

จีรนันท์ พูลสวัสดิ์. (2554). การศึกษาความสามารถอ่านจับใจความ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีความบกพร่องทางการได้ยินระดับหูตึง จากการสอนอ่านด้วยวิธี KWL – PLUS. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ .

ฐาปนีย์ แม้นญาติ. (2560). การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้และความพึงพอใจในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิมหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบ KWL Plusและการสอนแบบปกติ. ใน วารสารออนไลน์บัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ณัฐภัทร ปันปิน. (2559). ผลของการจัดกิจกรรมการสอนอ่านจับใจความโดยใช้เทคนิคKWLPlusร่วมกับวิธีการอ่านแบบจับคู่ที่มีต่อทักษะการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่3. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บรรจง แสงนภาวรรณ. (2556). การพัฒนาทักษะการอ่าน คิด วิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยการประยุกต์ใช้เทคนิคการสอน KWL Plus. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ประภาพรรณ เส็งวงศ์. (2550). การพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยวิธีวิจัยในชั้นเรียน. กรุงเทพฯ : อี เค.บุ๊คส์.

พัชรินทร์ แจ่มจำรูญ, พ. (2547). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่2 โรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษาอำเภอชะอําจังหวัดเพชรบุรีที่ได้รับการสอนอ่านแบบปฏิสัมพันธ์ด้วยวิธีKWL – PLUS กับวิธีสอนอ่านแบบปกติ. 2547: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

รัตนะ บัวสนธ์. (2554). การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการศึกษา.พิมพ์ครั้งที่2. นครสวรรค์:หจก.ริมปิง การ

พิมพ์.

วิไลวรรณ สวัสดิวงศ์. (2547). การพัฒนาทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่จัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWL Plus. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สายสมร ทองก้านเหลือง. (2557). รายงานผลการพัฒนาการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้แบบฝึกทักษะร่วมกับเทคนิคการเรียนรู้แบบ เค ดับเบิ้ลยู แอล พลัส (KWL-Plus) เรื่อง New Generation กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 26.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

07-12-2021

How to Cite