A Synthesis of research related การสังเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้นาฏยศัพท์และภาษาท่า เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนวิชานาฏศิลป์

ผู้แต่ง

  • วรพรรณ สว่างจิตร คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

คำสำคัญ:

นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้นาฏยศัพท์และภาษาท่า เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนวิชานาฏศิลป์ระหว่างปี 2547-2562 มีประเด็นการสังเคราะห์ คือ 1) ด้านข้อมูลพื้นฐานพบว่าส่วนใหญ่เป็นงานวิจัยระดับปริญญาโทและใช้พัฒนาผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 2) ด้านรูปแบบที่นำมาใช้ในการวิจัยพบว่าส่วนใหญ่ใช้ชุดการเรียนรู้ในการจัดการเรียนรู้ 3) ด้านวิธีดำเนินการวิจัยพบว่าส่วนใหญ่เลือกใช้กลุ่มตัวอย่าง เป็นงานวิจัยและพัฒนาซึ่งผลการทดสอบสมมติฐานการวิจัยในงานวิจัยที่มีผลการทดสอบเป็นไปตามสมมติฐาน 4) ด้านการนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์นั้นสามารถนำองค์ความรู้จากงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและสามารถต่อยอดเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลายอย่างมีประสิทธิภาพ ใช้ประชากรทั้งหมด20 เล่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบบันทึกข้อมูลคุณลักษณะวิทยานิพนธ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ

References

แก้วตา ชมพูอาจ. (2558). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องนาฏลีลาและนาฏยศัพท์ สำหรับ

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเลิศพัฒนาศึกษา. (วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาบริหารธุรกิจ การตลาด). มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี. สืบค้นจาก ThaiLis. (https://tdc.thailis.or.th

/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=443763)

จิตราภรณ์ แก้วดี. (2552). ผลการใช้ชุดการเรียนรู้เรื่องนาฏยศัพท์และภาษาท่านาฏศิลป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้

ศิลปะ สาระนาฏศิลป์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. (ปริญญานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขา

หลักสูตรและการสอน). มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี. สืบค้นจาก ThaiLis. (https://tdc.thailis.or.th/tdc/

browse.php? option=show& browse_type =title&titleid=12499)

ชุติกาญจน์ รุ่งเรือง. (2552). การเปรียบเทียบความรู้ ทักษะปฏิบัติและความคิดสร้างสรรค์วิชานาฏศิลป์ของ

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการกลุ่มสัมพันธ์กับการจัดการ

เรียนรู้แบบปกติ. (ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน). มหาวิทยาลัยราชภัฏ

พระนครศรีอยุธยา. สืบค้นจาก ThaiLis. (https://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse

_type=title&titleid=5521)

ฐิติมา กุลณาวรรณ. (2555). ผลการใช้ชุดการสอนวิชานาฏศิลป์หน่วยการเรียนรู้เรื่องนาฏยศัพท์และภาษาท่า

ตามแนวคิดทฤษฎัการปฏิบัติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาหลักสูตรและการสอน). มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. สืบค้นจาก ThaiLis. (https://tdc.thailis.

or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=538331)

ธารทิพย์ พิทักษ์สาลี. (2557). ผลการใช้ชุดการเรียนรู้เรื่องนาฏยศัพท์และภาษานาฏศิลป์ โดยใช้กระบวนการ

เรียนรู้แบบกลุ่มสัมพันธ์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาหลักสูตรและการสอน). มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. สืบค้นจาก ThaiLis. (https://tdc.thailis.

or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=391192)

เบ็ญจวรรณ สีงาม. (2553). การพัฒนาวิดีทัศน์เรื่องนาฏยศัพท์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1.

(วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.

สืบค้นจาก ThaiLis. (https://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid

=21342)

บงกช นาคะไพฑูรย์, พรทิพย์ แสงแก้ว, และสุลิกร อนันตกุล. (2551). การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่อง

นาฏยศัพท์และภาษาท่านาฏศิลป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 3. (วิทยานิพนธ์

มหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน). มหาวิทยาลัยนเรศวร. สืบค้นจาก ThaiLis. (https://tdc.thailis.

or.th/tdc/ browse.php?option=show&browse _type=title&titleid=203738)

มธุรส วงศ์อำไพ. (2553). การเปรียบเทียบความรู้ ทักษะปฏิบัติ และความคิดสร้างสรรค์ทางนาฏศิลป์ของ

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างการจัดการเรียนรู้โมเดลซิปปากับการจัดการเรียนรู้ปกติ.

(ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน). มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

สืบค้นจาก ThaiLis. (https://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid

=5710)

มันจนา อ้นเงิน. (2556). การพัฒนาวิดีทัศน์ประกอบการสอนเรื่องนาฏยศัพท์และภาษาท่านาฏศิลป์ไทย

สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนอุดมวิทยา จังหวัดปทุมธานี. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตร

มหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน). มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ฯ. สืบค้นจาก ThaiLis.

(https://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=312734)

มัลลิการ์ วงศ์ศิรินวรัตน์. (2550). การพัฒนาสื่อวิดีทัศน์วิชานาฏศิลป์เรื่องภาษาท่านาฏศิลป์สำหรับนักเรียน

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาเทคโนโลยีการศึกษา). มหาวิทยาลัยศิลปากร. สืบค้นจาก ThaiLis. (https://tdc.thailis.or.th/tdc/

browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=230553)

รสสุคนธ์ เพ็ญเนตร. (2561). การพัฒนาทักษะปฏิบัตินาฏยศัพท์และภาษาท่าโดยใช้การเรียนรู้แบบกลุ่ม

ร่วมมือเทคนิค TAI ร่วมกับแนวคิดการสอนปฏิบัติของแฮร์โดรว์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4.

(วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาศิลปะการแสดง). มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

สืบค้นจาก ThaiLis. (https://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid

=505989)

วัลลิกา วัฒนวันยู. (2549). การสร้างบทเรียนวิดีทัศน์กลุ่มสาระนาฏศิลป์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่

สังกัดกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา).

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สืบค้นจาก ThaiLis. (https://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=

show&browse_type=title&titleid=443763)

วิยะดา ลาสอน. (2552). การพัฒนาผลการเรียนรู้เรื่องภาษาท่าและนาฏยศัพท์กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะสาระ

นาฏศิลป์โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขา

หลักสูตรและการสอน). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สืบค้นจาก ThaiLis. (https://tdc.thailis.or.th/tdc/

browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=71354)

สกาวเดือน เอี่ยมสร้อย. (2550). การพัฒนาชุดการสอนนาฏศิลป์ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านยาง.

(วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน). มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

สืบค้นจาก ThaiLis. (https://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid

=15457)

สมาพร มีเนตรทิพย์. (2547). การพัฒนาชุดการสอนเรื่องนาฏยศัพท์และภาษาท่านาฏศิลป์ไทยสำหรับ

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการนิเทศ).

มหาวิทยาลัยศิลปากร. สืบค้นจาก ThaiLis. https://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&

browse_type=title&titleid=228798.(In Thai)

สุนิศา ศรีนุยเพ็ง. (2560). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD เรื่องนาฏยศัพท์และ

ภาษาท่า กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตร

มหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน). มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. สืบค้นจาก ThaiLis.

( https://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=489392)

สุพรรษา สุวรรณ์. (2556). การศึกษาผลการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องนาฏศิลป์เบื้องต้น หมวด

วิชาศึกษาทั่วไป หลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตร

และการสอน). มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต. สืบค้นจาก ThaiLis. (https://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?

option=show&browse_type=title&titleid=321715)

อภิณห์พร แม้นวิเศษพงศ์. (2549). การพัฒนาชุดการสอนเรื่องนาฏยศัพท์และภาษาท่านาฏศิลป์ โดยเน้น

กระบวนการปฏิบัติ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาหลักสูตร

และการสอน). มหาวิทยาลัยบูรพา. สืบค้นจาก ThaiLis. (https://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?

option=show&browse_ type=title&titleid=210890)

อมรรัตน์ บัวพัฒน์. (2559). การพัฒนาชุดฝึกทักษะนาฏยศัพทย์วิชานาฏศิลป์ กลุ่มสาระการเรยนรู้ศิลปะ

สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพัฒนาหลักสูตร

และการเรียนการสอน). มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. สืบค้นจาก ThaiLis. (https://tdc.thailis.or.th

/tdc /browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=407354)

อารียา บุตรทา. (2554). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาศิลปะ(นาฏศิลป์)เรื่องการใช้นาฏยศัพท์และภาษา

ท่านาฏศิลป์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้รูปแบบการสอนแบบโครงงาน. (วิทยานิพนธ์

ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน). มหาวิทยาลัยขอนแก่น. สืบค้นจาก ThaiLis.

(https://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=342731)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-06-2022

How to Cite