การระรานทางไซเบอร์: มุมมองของนักศึกษาผู้ถูกระรานและปฏิบัติการในการรับมือ

Main Article Content

วัชรพงษ์ ศรีสุข
ปัทมนันท์ ปุณเสรีพิพัฒน์

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเรื่องการระรานทางไซเบอร์ (Cyberbullying) จากมุมมองของผู้ถูกระรานโดยมุ่งเน้นทำความเข้าใจถึงการมองประสบการณ์การถูกระรานทางไซเบอร์ ใช้แนวทางการวิจัยเชิงคุณภาพโดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกกลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี จำนวน 6 คน ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมองความหมายของการระรานผ่านประสบการณ์ที่สร้างความเจ็บปวดและทุกข์ใจให้กับตนเอง และมองว่าสาเหตุของการระรานเกิดจากความหึงหวง หมั่นไส้ และการสร้างความบันเทิงในกลุ่มผู้แกล้ง แพลตฟอร์มออนไลน์มีส่วนในการส่งเสริมให้เกิดการระรานทางไซเบอร์ ความสะดวกในการกระทำการ และในแง่ของพื้นที่ในเชิงจิตวิทยา การระรานทางไซเบอร์สร้างผลกระทบด้านจิตใจที่ทำให้เกิดผลกระทบทางด้านร่างกาย ด้านสังคม และการเรียน ส่วนวิธีการรับมือของผู้ถูกระราน ประกอบด้วย การเพิกเฉย การรับมือไปที่ผู้ระราน การใช้เทคโนโลยี และการหาที่พึ่ง

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research Article)

References

กฤษฎา แสงเจริญทรัพย์ และวีนันท์กานต์ รุจิภักดิ์. (2564). Cyberbullying ความหมาย และการทบทวนแนวคิดภายใต้บริบทของสังคมไทย. วารสารกฎหมายและนโยบายสาธารณสุข, 7(1), 171-193.

ชินดนัย ศิริสมฤทัย. (2560). การรับรู้ ทัศนคติ และความตั้งใจในการเกิดพฤติกรรมการกลั่นแกล้งบนโลกไซเบอร์. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ณัฐกานต์ จันทรศิริพุทธ. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างความถี่ของการรังแกในพื้นที่ไซเบอร์กับการเผชิญปัญหาของเหยื่อ: อิทธิพลส่งผ่านของการประเมินทางปัญญาโดยมีความเป็นนิรนามของผู้กระทำเป็นตัวแปรกำกับ. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทวีศักดิ์ สิริรัตน์เรขา. (2565). การบูลลี่ทางไซเบอร์. https://www.happyhomeclinic.com/mh12-cyberbullying.html

นภาวรรณ อาชาเพ็ชร และ วรัชญ์ ครุจิต. (2565). บทบาทของสื่อดิจิทัล ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการรังแกผ่านโลกไซเบอร์ในกลุ่มเยาวชนไทย และแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหา. วารสารชุมชนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, 16(2), 191-204.

ปองกมล สุรัตน์. (2561). การรังแกผ่านโลกไซเบอร์ในมิติสังคมวัฒนธรรม: กรณีศึกษาเยาวชนไทยเจเนอเรชั่น Z. [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

พิมพ์พลอย รุ่งแสง. (2560). ผลของกลุ่มการปรึกษาเชิงจิตวิทยาต่อการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นที่ถูกข่มเหงรังแกทางโลกไซเบอร์. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ฤทัยชนนี สิทธิชัย และ ธันยากร ตุดเกื้อ. (2560). พฤติกรรมการรังแกบนโลกไซเบอร์ของเยาวชนในสามจังหวัดชายแดนใต้. วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 28(1), 86-99.

ศูนย์ข้อมูลและข่าวสืบสวนเพื่อสิทธิพลเมือง. (2563). พบเด็กไทยเสี่ยงภัย 'ถูกกลั่นแกล้ง' ทั้งใน 'ห้องเรียน-โลกออนไลน์'. https://www.tcijthai.com/ news/2020/19/scoop/9779

สาลินี ธำรงเลาหะพันธุ์, อัญมณี กุมมาระกะ, ภัทรินี ไตรสถิตย์, ฤทัยชนก กาศเกษม, เบญจลักษณ์ มณีทอน, ณัฑพร มโนใจ, ... พิมพ์วรัชญ์ ศรีคำมูล. (2565). การกลั่นแกล้งในโลกออนไลน์และการรับมืออย่างเหมาะสมในกลุ่มเยาวชน. วารสารกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์, 1(3), 1-22.

สุวิพร ไฉไลสถาพร, อัจศรา ประเสริฐสิน และแววตา เตชาทวีวรรณ. (2560). ประสบการณ์และแนวทางการเผชิญปัญหาของเด็กและเยาวชนไทยที่ตกเป็นเหยื่อการกลั่นแกล้งทางไซเบอร์. วารสารวิจัยและพัฒนาหลักสูตร, 7(2), 215-234.

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (14 สิงหาคม 2562). cyber bully การระรานทางไซเบอร์. https://www.facebook.com/RatchabanditThai/photos/cyber-bullyการระรานทางไซเบอร์การกลั่นแกล้ง-การให้ร้าย-การด่าว่า-การข่มเหง-หรือกา/2527570907300989/

หทัยภัทร โอสุวรรณ. (2562). ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการกลั่นแกล้งทางอินเทอร์เน็ตของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในประเทศไทย. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Belsey, B. (2005). Cyberbullying: An emerging threat to the “always on” generation. Retrieved January 16, 2007 from http://www.cyberbullying.ca/pdf/feature_dec2005.pdf

Berson, I. R., Berson, M. J., & Ferron, J. M. (2002). Emerging Risks of Violence in the Digital Age: Lessons for Educators from an Online Study of Adolescent Girls in the United States. Journal of School Violence, 1(2), 51–71. https://doi.org/10.1300/J202v01n02_04

Bhatnagar, B. (2024, 27 March). One in six school aged children experiences cyberbullying, finds new WHO/Europe study. WHO. https://www.who.int/europe/news/item/27-03-2024-one-in-six-school-aged-children-experiences-cyberbullying--finds-new-who-europe-study

Boyd, M. (2012). A Phenomenological Investigation of the Origination and Manifestation of the Cyberbully/Cyberbullying Victim Relationship from the Perspective of Cyberbullying Victims. [Doctoral dissertation]. Liberty University.

Erişti, B. (2019). Reactions victims display against cyberbullying: a cross-cultural comparison. International Journal of Contemporary Educational Research, 6(2), 426-437. https://doi.org/10.33200/ijcer.624623

Euajarusphan, A. (2021). Cyberbullying and Thai Generation Z Youths in Bangkok, Thailand. International Journal of Crime, Law and Social Issues, 8(2), 43-55. https://doi.org/10.14456/ijclsi.2021.5.

Farhangpour, P., Mutshaeni, H. N., & Maluleke, C. (2019). Emotional and academic effects of cyberbullying on students in a rural high school in the Limpopo province, South Africa. South African Journal of Information Management, 21(1), 1-8. https://doi.org/10.4102/sajim.v21i1.925

Foody, M., Samara, M., & Carlbring, P. (2015). A review of cyberbullying and suggestions for online psychological therapy. Internet Interventions, 2(3), 235-242. https://doi.org/10.1016/j.invent.2015.05.002

Hoff, D. L., & Mitchell, S. N. (2009). Cyberbullying: causes, effects, and remedies. Journal of Educational Administration, 47(5), 652-665. https://doi.org/10.1108/09578230910981107

Jacobs, N. C. L., Goossens, L., Dehue, F., Völlink, T., & Lechner, L. (2015). Dutch Cyberbullying Victims’ Experiences, Perceptions, Attitudes and Motivations Related to (Coping with) Cyberbullying: Focus Group Interviews. Societies, 5(1), 43-64. https://doi.org/10.3390/soc5010043

Kibe, L., Kwanya, T., Kogos, A., Ogolla, E., & Onsare, C. (2022). Types of Cyberbullying Experienced on Facebook by Undergraduate Students in Kenyan Universities. Cyberspace Studies, 6(2), 149-182. https://doi.org/10.22059/jcss.2022.345644.1076

Kowalski, R. (2018). Cyberbullying. In J. L. Ireland, P. Birch, & C. A. Ireland (Eds.), The Routledge International Handbook of Human Aggression (pp. 131-142). Routledge.

Kumar, V. L., & Goldstein, M. A. (2020). Cyberbullying and Adolescents. Curr Pediatr Rep, 8(3), 86-92. https://doi.org/10.1007/s40124-020-00217-6

Machackova, H., Cerna, A., Sevcikova, A., Dedkova, L., & Daneback, K. (2013). Effectiveness of coping strategies for victims of cyberbullying. Cyberpsychology: Journal of Psychosocial Research on Cyberspace, 7(3), Article 5. https://doi.org/10.5817/CP2013-3-5

Peled, Y. (2019). Cyberbullying and its influence on academic, social, and emotional development of undergraduate students. Heliyon, 5(3), 1-22. https://doi.org/10.1016/j.heliyon.2019.e01393

Price, M., & Dalgleish, J. (2010). Cyberbullying: Experiences, impacts and coping strategies as described by Australian young people. Youth Studies Australia, 29(2), 51-59. https://search.informit.org/doi/10.3316/ielapa.213627997089283

Rungsakorn, B. (2011). Effects of Family Context and Self-Esteem towards Cyber-Bullying Attitudes among Female Students Secondary School in Bangkok. [Master's thesis]. Mahidol University.

Smith, P. K., Mahdavi, J., Carvalho, M., Fisher, S., Russell, S., & Tippett, N. (2008). Cyberbullying: Its nature and impact in secondary school pupils. Journal of child psychology and psychiatry, 49(4), 376-385. https://doi.org/10.1111/j.1469-7610.2007.01846.x

Šléglová, V., & Cerna, A. (2011). Cyberbullying in Adolescent Victims: Perception and Coping. Cyberpsychology: Journal of Psychosocial Research on Cyberspace, 5(2), Article 4. https://cyberpsychology.eu/article/view/4248

Songsiri, N. (2010). Relationship between personal characteristics family context and cyber-bullying among secondary and vocational students in Bangkok. [Master's thesis]. Mahidol University.

Spencer, L., Ritchie, J., Ormston, R., O'Connor, W., & Barnard, M. (2014). Analysis: Principles and Processes. In J. Ritchie, J. Lewis, C. M. Nicholls, & R. Ormston (Eds.), Qualitative research practice : a guide for social science students and researchers (2 ed., pp. 269-293). Sage.

Wright, M. F., Wachs, S., Huang, Z., Kamble, S. V., Soudi, S., & Bayraktar, F. (2022). Longitudinal Associations among Machiavellianism, Popularity Goals, and Adolescents’ Cyberbullying Involvement: The Role of Gender. The Journal of Genetic Psychology, 183(5), 482–493. https://doi.org/10.1080/00221325.2022.2095251

Yurdakul, Y., Beyazıt, U., & Bütün Ayhan, A. (2022). Individual, Social, and Occupational Effects of Cyberbullying During Adolescence. In I. Management Association (Ed.), Research Anthology on Combating Cyber-Aggression and Online Negativity (pp. 1338-1360). IGI Global. https://doi.org/10.4018/978-1-6684-5594-4.ch067