การศึกษาอัตลักษณ์ครูดีในดวงใจ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้ศึกษาอัตลักษณ์ครูดีในดวงใจ โดยใช้แนวคิดหลัก 4 แนวคิด คือ แนวคิดอัตลักษณ์ แนวคิดทฤษฎีสัญญะวิทยา แนวคิดทฤษฎีปฏิสัมพันธ์ทางสัญลักษณ์และแนวคิดเรื่องพื้นที่ โดยมีพื้นที่ศึกษา คือ สถานศึกษาในสังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก เป็นการสัมภาษณ์แบบเจาะจงกับกลุ่ม เป้าหมายประกอบด้วย กลุ่มครูดีในดวงใจ จำนวน 4 คน ผู้บริหารสถานศึกษาที่มีครูดีในดวงใจ ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรังเขต 1 จำนวน 4 คน เพื่อน ร่วมงานจำนวน 4 คน นักเรียน จำนวน 4 คนและผู้ปกครองนักเรียนจำานวน 4 คน เครื่องมือ ที่ ใช้ ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ให้ข้อมูลหลัก ผลการวิจัย พบว่า อัตลักษณ์ของ ครูดี ในดวงใจมีหลากหลายลักษณะ มีทั้งอัตลักษณ์ระดับปัจเจกและอัตลักษณ์ร่วมภายใต้วิชาชีพ การศึกษาอัตลักษณ์ของครูดี ในดวงใจโดยการนิยามตัวเอง และผู้อื่นนิยาม และศึกษาโดยผ่านการปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในสถานศึกษา
Article Details
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการเผยแพร่ในวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลานี้ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาก่อนเท่านั้น
References
2.กำจร หลุยยะพงศ์. (2551). การสื่อสารกับวาทกรรมอัตลักษณ์ผู้สูงอายุในสังคมไทย.กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
3.จารุณี สุวรรณรัศมี. (2547). กราฟฟิติ : การสื่อสารความหมายและอัตลักษณ์.วิทยานิพนธ์คณะวารสารศาสตรและสื่อสารมวลชน, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
4.เฉลิมชัย ปัญญาดี. (2553). อัตลักษณ์และการสร้างอัตลักษณ์ขององค์การบริหารส่วนตำบลในฐานะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยแม่โจ้, สาขาการบริหารองค์การภาครัฐและเอกชน.
5.ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. (2545). สัญวิทยา โครงสร้างนิยม หลังโครงสร้างนิยมกับการศึกษารัฐศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : วิภาษา.
6.นารีรัตน์ นาครินทร์. (2552). ครูบ้านนอก. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 17 พฤษภาคม 2558, จาก : http://www.kroobannok.com.
7.เนตรรุ้ง อยู่เจริญ. (2553). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพการศึกษาของครูสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
8.ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2547). การสร้างและการสืบทอดอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธ์ม้ง ในวิภาส ปรัชญาภรณ์ (บรรณาธิการ), วาทกรรมอัตลักษณ์ (หน้า 31-72). กรุงเทพฯ :โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์.
9.พนม พงษ์ไพบูลย์. (2540). การศึกษาปัจจัยที่ 5 ของชีวิต. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา.
10.เยาวลักษณ์ กล้ามาก. (2549). การนำเสนอตัวตนของวัยรุ่นผ่านสัญญะของการบริโภคอาหารฟ้าสต์ฟู้ด. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.คณะศึกษาศาสตร์, สาขาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว.
11.วงศ์เดือน ภานุวัฒนากูล. (2553). อัตลักษณ์ของคนไทยเชื้อสายจีนในเมืองหาดใหญ่.วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์,สาขาวิชาพัฒนามนุษย์และสังคม.
12.สัญญา สัญญาวิวัฒน์. (2550). ทฤษฎีสังคมวิทยา เนื้อหาและแนวทางการใช้ประโยชน์.(พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
13.สุเทพ สุนทรเภสัช. (2540). ทฤษฎีสังคมวิทยาร่วมสมัย. เชียงใหม่ : โกลบอลวิชั่น จำกัด.
14.สมิต สัชฌุกร. (2547). ทฤษฎีการสื่อสาร. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สายธาร.
15.สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2557). โรงเรียนนิติบุคคล. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
16.สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2556). กรอบและทิศทางการวิจัยทางการศึกษาของประเทศ(พ.ศ.2555-2558) เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบายด้านการศึกษาของรัฐบาล.
กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด เจริญผลกราฟิค.
17.อภิญญา เฟื่องฟูสกุล. (2546). อัตลักษณ์. กรุงเทพฯ : คณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติสาขาสังคมวิทยา สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
18.Berlo, D. K. (1960). The Process of Communication. New York: The Free Press.
19.Lefebvre, H. (1991). The Production of Space. Oxford: Blackwell.
20.Peirce, C. S. (1931). Collected Papers of Peirce. C, Harshow. C and Weiss. C.Harvard University press. New York: The Free Press.
21.Saussure, F. D. (1974). Courses in General Linguitics. London: Fontana.
22.Woodward, K. (1997). Identity and Difference. London: SAGE.