พฤติกรรมในการป้องกันโรคอุจจาระร่วงของประชาชนในตำบลสวนผึ้ง อำเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมในการป้องกันโรคอุจจาระร่วงของประชาชนในตำบลสวนผึ้ง อำเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี กลุ่มตัวอย่างคือประชาชนในตำบลสวนผึ้ง อำเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี กลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนหลังคาเรือน จำนวน 380 คน โดยทำการสุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบ(Systematic Random Sampling) ตามสัดส่วนของประชากร เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามด้านพฤติกรรม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า ประชาชนในเขตตำบลสวนผึ้ง อำเภอสวนผึ้งจังหวัดราชบุรี มีพฤติกรรมในการป้องกันโรคอุจจาระร่วงโดยรวมอยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 74.7 เมื่อพิจารณาพฤติกรรมป้องกันโรคอุจจาระร่วงรายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือพฤติกรรมด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมอยู่จัดอยู่ระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 2.82 (SD = 0.37)
Article Details
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการเผยแพร่ในวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลานี้ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาก่อนเท่านั้น
References
2. Bureau of Epidemiology, Department of Disease Control, Ministry of Public Health. (2015). Journal of Potential Diseases in Winter Season, Thailand, November 2015 – February 2016. Weekly Epidemiological Sureillance Report, 46(38), 593-599. (in Thai)
3. Department of Disease Control. (2014). Situation report of diarrhoea disease (acute diarrhea) in Thailand [Online]. Retrieved June 28, 2016, from: www.boe.moph.go.th/files/report/20150106_70733519.pdf. (in Thai)
4. Bureau of Information, Ministry of Public Health. (2009). Public health. The campaign suggests eating a hot spoon in hand work diarrhea this year, less than 51 years nearly half a billion [Online]. Retrieved June 25, 2017, from: http://pr.moph.go.th/iprg/module.php?mod=news_print&idHot_new=28772. (in Thai)
5. Nampai, P. (2009). Dietary habits and health infrastructure for the prevention of diarrhea, parents or caregivers of children 0-5 years Kasetwisai Subdistrict, Kasetwisai district, Roi ed Province. Research report. Roi et: Roi et Provincial Public Health Office. (in Thai)
6. Pinmunee, R. (2015). Five Keys to Improve Food Sanitation in Households, Ban Don Mong, Tambon Nong Yat, Mauag District, Nakhonpanom Province. Dissertation. Department of Public Health, Khonkaen University. (in Thai)
7. Sukjuntra, J. (2014) Situation of Food Safety and Consumer Behavior Toward Salted Fish in Yala Province. Journal of Yala Rajabhat University, 9(1), 85-98. (in Thai)
8. Thatsanaborisut, O. (2013). Comparison on Affected to Diarrhea Prevention of People in Muang and Dontum District, Nakhon Pathom Province. Dissertation. Department of Environmental Science, Silpakorn University. (in Thai)
9. The office of Disease Prevention and Control 5 Ratchaburi. (2015). Report the situation in disease surveillance network, Region 5 from January to October 2014 [Online]. Retrieved June 25, 2017, from: http://odpc5.ddc.moph.go.th/groups/epidem/images/stories/54/week43/_5_Week_43_2559.docx. (in Thai)
10. World Health Organization. (2013). Diarrhoeal disease [Online]. Retrieved January 1, 2017, from: http://www.who.int/mediacentre/factsheets/fs330/en/.
Yamane, T. (1973). Statistics: an introductory analysis. New York: Harper and Row.