ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงต่อยาเสพติดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาในเขตพื้นที่ตะเข็บชนแดนลุ่มน้ำโขง
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงต่อยาเสพติดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ในเขตพื้นที่ตะเข็บชนแดนลุ่มน้ำโขง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาในเขตพื้นที่ตะเข็บชนแดนลุ่มน้ำโขง 400 คน ได้มาโดยการกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ แบบสอบถามมาตราส่วนประมานค่า ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงต่อยาเสพติดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ในเขตพื้นที่ตะเข็บชนแดนลุ่มน้ำโขง ได้แก่ ปัจจัยสังคม ปัจจัยสถานการณ์ และปัจจัยจิตวิทยา
Article Details
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการเผยแพร่ในวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลานี้ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาก่อนเท่านั้น
References
2. Pramong, N. (2012). Development of a form of anti-drug activity in students. Doctor’ s Thesis. Valaya Alongkorn Rajabhat University. (in Thai)
3. Jandeang, B. (2017). Analysis of Current Drug Situation Problem. Journal of Research and Development Institute Rajabhat Maha Sarakham University, 4(2), 37-52. (in Thai)
4. Suksang, S. (2015). Factors influencing drug use risk behaviors of lower secondary school students in Changwat Songkhla. Hat Yai: Hat Yai University. (in Thai)
5. National Drug Prevention and Suppression Center. (2017). Ordering guidelines for reducing drug harm (Harm Reduction). Office of the Narcotics Control Board, Bangkok: Ministry of Justice. (in Thai)
6. Narcotics Suppression Office. (2017). Prevention and solution of drug problems in educational institutions. Office of the Narcotics Control Board, Bangkok: Ministry of Justice. (in Thai)
7. The Center for Narcotic Drugs defeats Mukdahan province. (2018). Guidelines to overcome drug abuse in Mukdahan province. Mukdahan: The Center for the Empowerment of the Province of Narcotic Drugs. (in Thai)
8. Feinstein, A. (2005). Mild traumatic brain in jury: The silence epidemic. Canadian Journal of Public Health, 19(5), 325-326.
9. Harger, D. L. (1971). Avent Drug Use in Middle America Social Psycological Correlates. Boston: Houghtom Miffin.
10. Land, N. (1984). Adolescence’s risk behavior. International Edition: McGraw – Hill.
11. Likert, R. (1967). The Human Organization: Its Management and Value. New York: McGraw-Hill.
12. Paulson. Pa, C. (1971). Psychological Factors in Drug Use Among Community College Students. Dissertation Abstracts. 31(9), 5455-5456 B
13. Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis (3rd Ed). New York: Harper and Row.