ผลการจัดการเรียนรู้เชิงรุกเพื่อส่งเสริมการรู้เรื่องการอ่านสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

Main Article Content

สุพรรณี ขาวงาม
ดนิตา ดวงวิไล

บทคัดย่อ

ปัญหาด้านการรู้เรื่องการอ่านเป็นปัญหาสำคัญต่อการพัฒนาการศึกษาของไทย การจัดการเรียนรู้เชิงรุกเป็นแนวทางในการพัฒนาการรู้เรื่องการอ่านของผู้เรียน จึงทำการวิจัยโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการจัดการเรียนรู้เชิงรุกเพื่อส่งเสริมการรู้เรื่องการอ่านสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มตัวอย่างแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง จำนวน 34 คน และกลุ่มควบคุม จำนวน 33 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ แผนการจัดการเรียนรู้เชิงรุกเพื่อส่งเสริมการรู้เรื่องการอ่าน จำนวน 6 แผน และเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลการวิจัย คือ แบบทดสอบวัดการรู้เรื่องการอ่าน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบสมมติฐานโดยใช้ t-test ผลการวิจัย พบว่า 1) นักเรียนกลุ่มทดลองที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้เชิงรุกเพื่อส่งเสริมการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีคะแนนเฉลี่ยการทดสอบการรู้เรื่องการอ่านหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ 2) นักเรียนกลุ่มทดลองที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้เชิงรุกเพื่อส่งเสริมการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีคะแนนเฉลี่ยการทดสอบการรู้เรื่องการอ่าน สูงกว่ากลุ่มควบคุมที่เรียนด้วยวิธีปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Best, J. W. (1977). Research in Education. (3rd ed.). New Jersey: Prentice hall.

Bonwell, D. & Eison, J. A. (1991). “Active learning: Creating excitement in the classroom.” Washington, D. C.: The George Washington University.

Chairerk, W. (2015). Contemporary Thai language and information literacy learning achievement of students taught with techniques of active learning. Journal of Learning Innovations Walailak University, 1(1), 77-95. (in Thai)

Davis, W & Summers, M. (2014). Applying Dale's Cone of experience to increase learning and retention: A study of student learning in a foundational leadership course. Engineering Leaders Conference 2014. [Online]. Retrieved May 3,2014, from: http://dx.doi.org/10.5339/qproc.2015. elc2014.6.

Ministry of Education. (2017). The basic education core curriculum B.E. 2560 (A.D. 2017). Bangkok: Chumnumsahakonkankasethaengprathet Thai. (in Thai)

Obec information reporting system chomphraprachasan school educational service area 33. (2019). Data report chomphraprachasan school educational service area 33. [online]. Retrieved September 15,2019, from: http://203.159.164.53/~eme53/schlog.php?application=emes2558&module=info. (in Thai)

Panich, V. (2012). The way to create learning for students in the 21st century (3). Bangkok: Sodsri-Saridwongso Foundation. (in Thai)

Pantaewan, P. (2016). Development of students in the 21st century with Active learning in nursing profession. Journal of The Royal thai army nurses, 17(3),17-24. (in Thai)

Phrutthikun, S. (2012). Learner quality ... Caused by the learning process “Quality of students derived from Active learning process”, Journal of Journal of Educational Administration Burapha University. 6(2), 3-5. (in Thai)

Rochanasmita, A. S. (2012). Active learning for improving Phranakhon Rajabhat University Pre-service science teachers’ learning behavior and conceptions about teaching and learning. Phranakhon Rajabhat University: Bankok. (in Thai)

The Institute for the promotion of teaching science and technology (IPST). (2011). International Student Assessment Framework PISA 2009. Bangkok: Aroonkarnpim. (in Thai)

The Institute for the promotion of teaching science and technology (IPST). (2019). PISA 2018 evaluation results. [Online]. Retrieved December 3,2019, from: https://drive.google.com/file/d/18DKq GcId1dN6IWF07TXG8YZsQOg-NlWZ/view. (in Thai)