The Effect of Modeling and Using Token Economy Program for Enhancing Lifelong Learning of Mathayomsuksa 5 Students at Visuttharangsi Kanchanaburi

Main Article Content

Nannaree Srisukkham
Manasanan Hatthasak

Abstract

     The purposes of this research were: to study the effect of modeling and using token economy program for enhancing lifelong learning of Mathayomsuksa 5 students at Visuttharangsi Kanchanaburi School. The instruments used in this research were: (1) the modeling and using token economy program for enhancing lifelong learning (2) lifelong learning test.


     The research results indicated that: (1) the posttest scores from the lifelong learning test of the experimental group were higher than theirs pretest scores at .01 level of significance. (2) the posttest scores from the lifelong learning test of the experimental group were higher than posttest scores of the control group at .01 level of significance.

Article Details

How to Cite
Srisukkham, N., and M. Hatthasak. “The Effect of Modeling and Using Token Economy Program for Enhancing Lifelong Learning of Mathayomsuksa 5 Students at Visuttharangsi Kanchanaburi”. Mahachula Academic Journal, vol. 8, no. 2, Aug. 2021, pp. 269-78, https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JMA/article/view/251799.
Section
Research Articles

References

กนิษฐา หอมกลิ่น และมนัสนันท์ หัตถศักดิ์. “ผลของโปรแกรมการเรียนรู้ทางปัญญาสังคม เพื่อพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนเทศบาล ๑ บ้านชะอำ (ชะอำวิทยาคาร) จังหวัดเพชรบุรี”. ครุศาสตร์สาร. ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๖๐) : หน้า ๑๐-๒๑.

จิตต์ภิญญา ชุมสาย ณ อยุธยา. “ลักษณะผู้เรียนรู้ตลอดชีวิตของนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีสุดท้าย”. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาดุษฎีบัณฑิต. สาขาวิชาการอุดมศึกษา : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ๒๕๕๑.

ชูศักดิ์ เอื้องโชคชัย อาชัญญา รัตนอุบล และสุวิธิดา จรุงเกียรติกุล. “คุณลักษณะการเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับเยาวชนไทย”. วารสารครุศาสตร์. ปีที่ ๔๔ ฉบับที่ ๔ (ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๕๙) : ๖๓-๘๐.

ปนพงษ์ งามมาก. “ผลของโปรแกรมการเสนอตัวแบบและการเสริมแรงทางสังคมที่มีต่อการพัฒนาจิตสาธารณะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนบ้านแสลงพันธ์ จังหวัดสุรินทร์”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๓ (กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๖) : ๑๖๑-๑๖๘.

พิชชาพัชร อรรถบท และมนัสนันท์ หัตถศักดิ์. “ผลของโปรแกรมปรับพฤติกรรมทางปัญญาที่ส่งผลต่อพฤติกรรมกล้าแสดงออกของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนวิเชียรกลิ่นสุคนธ์อุปถัมภ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา”. วารสาร มจร มนุษศาสตร์ศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๖๐) : ๑๐-๒๑.

สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต. ทฤษฎีและเทคนิคการปรับพฤติกรรม. พิมพ์ครั้งที่ ๙. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๖๒.

สุรางค์ โค้วตระกูล. จิตวิทยาการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ ๑๒. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๙.

สุบิน ไชยยะ, พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์, และ ปิยพงษ์ สุเมตติกุล. “ทักษะที่จำเป็นต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตของนิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัย : กรอบแนวคิดเชิงทฤษฎี”. วารสารสงขลานครินทร์. ปีที่ ๒๑ ฉบับที่ ๓ (กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๕๘) : ๑๔๙-๑๗๖.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. รายงานการสังเคราะห์ผลการติดตามและประเมินการดำเนินงานปฏิรูปการศึกษาตั้งแต่ประกาศใช้พระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ถึงสิ้นสุดปีงบประมาณ ๒๕๔๘. กรุงเทพมหานคร : พริกหวานกราฟฟิค, ๒๕๔๙.

อุไรวรรณ กิตตินนทิกร. “ผลของการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามทฤษฎีปัญญาสังคมที่มีต่อการพัฒนาทักษะการคบเพื่อนต่างเพศของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนควนขนุน จังหวัดพัทลุง”. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ :มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๕๖.

อเนชา วิลาไชย. “การส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตโดยการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบโมไบล์ – เลิร์นนิง (M – Learning) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ เรื่องสมบัติของธาตุและสารประกอบ”. วารสารวิจัยราชภัฏเชียงใหม่. ปีที่ ๒๑ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๖๓) : ๒๐-๓๔.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. แผนฯ ๑๒ ฉบับประชาชน นวัตกรรมคือหัวใจของการพัฒนา. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://planning.dld.go.th/th/images/stories/section-๕/๒๕๖๑/strategy๐๙.pdf [๑ พฤษภาคม ๒๕๖๓].