Developing an Elementary School Management Model for Excellence Reading aspect of Ban Wang Taku School

Main Article Content

Teerayut Sisen

Abstract

          This research aimed at develop a model of primary school administration and certify a model of primary school administration for excellence in reading of Ban Wang Taku School. The sample was selected using using 13 people consisting of academics, administrators of educational institutions, supervisors and teachers from purposive sampling. The instruments used were interview form, questionnaire on 5-level valuation scale. It divided into 2 parts: Part 1; assessing and certifying sub-issues in each of the main components and Part 2; assessing and certifying the feasibility and appropriateness of the model. Data were collected and analyzed using the statistics as mean, standard deviation, median, and inter - quantize range. (Likert)


          The results of the study revealed that the development of the primary school administration model for excellence in reading of Ban Wang Taku School By using Delphi techniques, Round 1and Round 2 overall were appropriate at the highest level, consisting of Leadership, Opportunity, Management. And success the results of the examination to certify the form Elementary School Administration for Reading Excellence Overall, they were appropriate at the highest level. And have high consistency in every aspect.

Article Details

How to Cite
Sisen, T. “Developing an Elementary School Management Model for Excellence Reading Aspect of Ban Wang Taku School”. Mahachula Academic Journal, vol. 9, no. 3, Dec. 2022, pp. 119-34, https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JMA/article/view/258312.
Section
Research Articles

References

กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, ๒๕๕๒.

กุลยา ตันติผลาชีวะ. “สอนลูกให้รักการอ่าน”. วารสารการศึกษาปฐมวัย. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๔ (๒๕๔๗) : ๕๕-๕๘.

คณะครุศาสตร์. รายงานผลการดำเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพการเรียนรู้ด้านการอ่าน การเขียนและคิดวิเคราะห์ของนักเรียนในระดับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ ๒๕๖๒. จันทบุรี : มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี, ๒๕๖๒.

ดารกา ต้นครองจันทร์. “ทำอย่างไรให้เด็กไทยรักการอ่าน”. วารสารวิชาการ. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑๑ (๒๕๔๕) : ๖-๗.

ธีระ รุญเจริญ. ความเป็นมืออาชีพในการจัดและบริหารการศึกษายุคปฏิรูปการศึกษา.กรุงเทพมหานคร : ข้าวฟ่าง, ๒๕๕๐.

นรารักษ์ ประดุจพรม. “การพัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียนประถมศึกษาสู่ความเป็นเลิศ ด้านการอ่านในเขตพื้นที่การศึกษาภาคตะวันออก”. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต.ศึกษาศาสตร์ : มหาวิทยาลัยบูรพา, ๒๕๖๒.

นภเนตร ธรรมบวร. หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๑.

นัสเซอร์อาลี เกปัน. “ประสิทธิภาพการบริหารสถานศึกษา โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามอันซอเรียะห์อัดดีนียะห์ จังหวัดสตูล”. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการจัดการ ภาครัฐและภาคเอกชน : มหาวิทยาลัยหาดใหญ่, ๒๕๖๒.

บริษัท ปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย จำกัด. “สร้างชาติให้ก้าวหน้าด้วยการอ่าน”. สื่อพลังปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๒ (๒๕๕๑) : ๑๒-๑๕.

บุณยกุล หัตถกี. “รูปแบบการบริหารคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนขนาดเล็ก”.วิทยานิพนธ์ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต”. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา.คณะศึกษาศาสตร์ : มหาวิทยาลัยบูรพา, ๒๕๕๖.

พนิดา ดอนเมฆ. “การพัฒนารูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลการดำเนินงานสู่เป็นเลิศของสถานศึกษาเอกชน ในจังหวัดระยอง”. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต. การบริหารการศึกษา : มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี, ๒๕๕๙.

พิทักษ์ สุพรรโณภาพ และวรรณวีร์ บุญคุ้ม. “สภาพและผลการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านของนักเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน”. วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม–ธันวาคม ๒๕๖๓) : ๑๔๓-๑๕๙.

พาตีฮะห์ เดเบาะ. “การมีส่วนร่วมของครูในการบริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต ๓”. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา : มหาวิทยาลัยหาดใหญ่, ม.ป.ป.

รุ่งทิวา วิบูลพันธ์. “ศึกษาขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต ๒”. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา : มหาวิทยาลัยหาดใหญ่, ๒๕๖๒.

รุ่งรุจี ศรีดาเดช. “การจัดกิจกรรมห้องสมุดโรงเรียนต้นแบบโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านระดับประถมศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากำแพงเพชร เขต ๑”. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. สารสนเทศศาสตร์ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๖๐.

สกุลรัตน์ กมุทมาศ. “บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการปฏิบัติงานของครูตามแนวปฏิรูปการศึกษา”. วารสารโปลีเทคนิคภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๕๐) : ๓๖-๔๓.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. โรงเรียนรางวัลความเป็นเลิศของครูและโรงเรียนประเทศฮ่องกง. The Outstanding Teac hears and School Awards: HK. (Consultation Document). กรุงเทพมหานคร : สำนักงานปฏิรูปวิชาชีพครู, ๒๕๔๓.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. สรุปผลที่สำคัญการสำรวจการอ่านหนังสือของประชากร พ.ศ. ๒๕๕๑. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานสถิติแห่งชาติ, ๒๕๕๒.

เสาวภา เมืองแก่น. “ต้นแบบการจัดองค์การแห่งความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยเอกชนไทย”. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยสยาม, ๒๕๖๐.

สังวาลย์ เยียว. “แนวทางการบริหารจัดการของผู้บริหารสถานศึกษาขนาดเล็กในการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านของนักเรียนในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เชียงใหม่ เขต ๒”. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. การบริหารการศึกษา : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ๒๕๕๔.