The Effects of Thai Dessert Cooking Activity Provision to Develop Creativite Thinking for Young Children

Main Article Content

Araya Moohoummatyouso
Pattamavadi Lehmongkol

Abstract

          The purpose of this study was to study the effects of Thai dessert cooking activity provistion to develop creative thinking for young children.The target group used in this study was 21 young children studying in kinder garten level 1 academic year 2022 of Phratumnuk Suankularb School, Bangkok Primary Educational Service Area Office.  The instruments used in this study were 18 lesson plans on Thai dessert cooking activities, Test on creative thinking with pictures fiqural form A. and behavioral record form on creative thinking for young children.  Data was analyzed by mean, stardard deviation and content analysis.


          Results showed that young children who engaged in Thai dessert cooking activities had higher posttest scored than pretest scores in initiative thinking, fluent thinking, and elaborative thinking.

Article Details

How to Cite
Moohoummatyouso, A., and P. Lehmongkol. “The Effects of Thai Dessert Cooking Activity Provision to Develop Creativite Thinking for Young Children”. Mahachula Academic Journal, vol. 10, no. 3, Dec. 2023, pp. 164-76, https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JMA/article/view/263763.
Section
Academic Articles

References

กรมวิชาการ. หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช ๒๕๔๖. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๔๖.

กาญจนา สองแสน. “ผลการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัยที่มีต่อความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย”. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. สาขาการศึกษาปฐมวัย: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ๒๕๕๑.

กุลยา ตันติผลาชีวะ. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มิตรสัมพันธ์กราฟฟิค, ๒๕๕๑.

ดิลก ดิลกานนท์. “การฝึกทักษะการคิดเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์”. ปริญญานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต. สาขาการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ๒๕๓๔.

นิตยา คชภักดี, จิตเวชเด็กสำหรับกุมารแพทย์. กรุงเทพมหานคร: คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี, ๒๕๓๐.

นิตยา ประพฤติกิจ. คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร: โอ เอส พริ้นติ้งเฮาส์, ๒๕๔๑.

บุญประจักษ์ วงษ์มงคล. “การศึกษาผลการจัดประสบการณ์แบบปฏิบัติการทดลองการประกอบอาหารและการจัดประสบการณ์แบบทั่วไปที่มีต่อทักษะคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่มีความสามารถทางสดีปัญญาแตกต่างกัน”. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ๒๕๓๖.

ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. การพัฒนาการคิด. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ห้างหุ้นส่วนจำกัด ๙๑๑๙ เทคนิค พริ้นดิ้ง, ๒๕๕๑.

ยุพิน พิพิธกุล. การจัดประสบการณ์แบบปฏิบัติการประกอบอาหารสำหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร: บพิธการพิมพ์, ๒๕๒๔.

เยาวพา เดชะคุปต์. รายงานการวิจัยความสามารถทางสติปัญญากับความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นเด็กเล็กโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาหลักสูตร, ๒๕๓๖.

วนิดา บุษยะกนิษฐ์. “ผลของการจัดประสบการณ์แบบปฏิบัติการกับแบบปกติที่มีต่อทักษะการเปรียบเทียบของเด็กปฐมวัย”. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ๒๕๓๒.

วลิญา ปรีชากุล. “การใช้กิจกรรมศิลปะวาดภาพเพื่อสร้างเสริมความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นอนุบาล”. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณทิต. สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ๒๕๕๐.

วไลพร พงศ์ศรีทัศน์. “ผลการจัดประสบการณ์แบบปฏิบัติการทดลองประกอบอาหารกับแบบปกติที่มีต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย”. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ๒๕๓๖.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. ระบบการประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ. กรุงเทพมหานคร: พิมพ์ดี, ๒๕๔๐.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน. คู่มืออบรมกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการเด็กอนุบาล (กิจกรรมในวงกลม). กรุงเทพมหานคร: หน่วยศึกษานิเทศก์, ๒๕๓๕.

อารี พันธ์มณี. ความคิดสร้างสรรค์. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพมหานคร: ใยไหม, ๒๕๔๒.

อารี พันธ์มณี. ความคิดสร้างสรรค์. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพมหานคร: ข้าวฟ่าง, ๒๕๓๒.

อุษณีย์ อนุรุทธวงศ์. การพัฒนารูปแบบกิจกรรมค่ายเพื่อพัฒนาทักษะความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัยและประถมศึกษา. กรุงเทพมหานคร: วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา, ๒๕๕๕.