รูปแบบการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในเขตพื้นที่กองทัพเรือ

Main Article Content

นาวาเอก บรรจบ มูลเชื้อ

บทคัดย่อ

     การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ ๑) เพื่อศึกษารูปแบบการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในเขตพื้นที่กองทัพเรือ ๒) เพื่อศึกษาอิทธิพลของปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในเขตพื้นที่กองทัพเรือ ๓) เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในเขตพื้นที่กองทัพเรือ เป็นการวิจัยแบบผสม (Mixed Method) ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ดำเนินการเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน
(Multistage Random Sampling) เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามความคิดเห็นด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการ Factor analysis เพื่อจัดกลุ่มตัวชี้วัดและจัดทำ Reliability test มีความสอดคล้องอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
     ผลการวิจัยพบว่า ความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงสาเหตุของการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในพื้นที่กองทัพเรือ ตัวแปรสังเกตได้ส่วนใหญ่มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสังเกตได้ ของรูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงสาเหตุ ที่พิจารณาค่าความสัมพันธ์ โดยใช้การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสังเกตได้ทุกตัวแปร ที่มีค่าแตกต่างจากศูนย์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ ผลการวิเคราะห์ความสอดคล้องของรูปแบบจำลองความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงสาเหตุของการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในพื้นที่กองทัพเรือกับข้อมูลเชิงประจักษ์

Article Details

How to Cite
มูลเชื้อ น. บ. . “รูปแบบการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในเขตพื้นที่กองทัพเรือ”. วารสารมหาจุฬาวิชาการ, ปี 7, ฉบับที่ 1, มีนาคม 2020, น. 288-00, https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JMA/article/view/240230.
บท
บทความวิจัย

References

นงลักษณ์ วิรัชชัย. โมเดลลิสเรล:สถิติวิเคราะห์สำหรับการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๒.

พระสุธีรัตนบัณฑิต. LIST Model for Research and Social Development. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ สาขาการพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๑.

ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย. แผนยุทธศาสตร์และกลยุทธ์พัฒนาการท่องเที่ยว: กรมการท่องเที่ยว พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๐. กรุงเทพมหานคร: กรมการท่องเที่ยว, ๒๕๕๘.

ศูนย์อำนวยการการท่องเที่ยวกองทัพเรือ. นโยบายและแนวทางการปฏิบัติตามนโยบายของผู้บัญชาการทหารเรือสาหรับปีงบประมาณ ๒๕๕๙. กรุงเทพมหานคร: กองทัพเรือ, ๒๕๕๘.

Atilgan. E. Akinci. S. and Aksoy. S. Mapping service qUality: the tourism industry. (ManagingServiceQuality, 2003), 13(5) pp. 412-422.

Diamantopoulos. A. & Siguaw. J. A. Introducing LISREL. London. United Kingdom: Sage, 2000.

Hair. Joseph. F.; Anderson. Rolph E.; Tatham. Ronald L. & Black. William C. Multivariate Data Analysis with Readings. 4th ed.Englewood Cliffside-Hall, 1995.

Joreskog. Karl G. & Sorbom. Dag. LISREL8 User’s Reference Guide. United States: Scientific Software International, 1996.

Kotler. P. Marketing management: Analysisplanningimplementationandcontrol8thed. Englewood Cliffs. New Jersey : Prentice-Hall, 1997.

LCTA Lauku celotajs. Service Marketing. New York: Harper Collins, 2011.