การศึกษาเชิงวิเคราะห์พระพุทธพจน์ที่ว่า ถ้าสงฆ์ปรารถนา จะถอนสิกขาบทเล็กน้อยเสียบ้างก็ถอนได้

Main Article Content

พระมหาวรัญธรณ์ ญาณกิตฺติ
แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม
อรชร ไกรจักร์

บทคัดย่อ

          บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์พระพุทธพจน์ในมหาปรินิพพานสูตรที่ว่า ถ้าสงฆ์ปรารถา จะถอนสิกขาบทเล็กน้อยเสียบ้างก็ถอนได้ การศึกษาในครั้งนี้ดำเนินการด้วยการพิจารณาคัมภีร์ที่อธิบายพระพุทธพจน์นี้โดยตรง และด้วยการพิจารณาหลักการในพระไตรปิฎก ผลการศึกษาพบว่า พระพุทธเจ้าไม่ได้ตรัสพระดำรัสนี้เพื่อทรงอนุญาตให้สงข์ถอนสิกขาบทเล็กน้อย แต่พระพุทธองค์ตรัสเพื่อทดลองใจเหล่าพระภิกษุในพระพุทธศาสนา ฉะนั้น พระพุทธพจน์ที่ว่านี้จึงไม่ควรถูกนำไปใช้เป็นเหตุผลหรือเป็นข้ออ้างในการถอนสิกขาบทเล็กน้อย เพราะว่า พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติสิกขาบทขึ้นมาเพื่อป้องกันไม่ให้พระภิกษุประพฤติผิด การมีความคิดที่จะถอนสิกขาบทเล็กน้อยโดยใช้พระพุทธพจน์ดังกล่าวเป็นเหตุผล ย่อมเท่ากับว่าเป็นการทำลายหลักการของพระพุทธศาสนา

Article Details

How to Cite
ญาณกิตฺติ พ., รักษาโฉม แ., และ ไกรจักร์ อ. “การศึกษาเชิงวิเคราะห์พระพุทธพจน์ที่ว่า ถ้าสงฆ์ปรารถนา จะถอนสิกขาบทเล็กน้อยเสียบ้างก็ถอนได้”. วารสารมหาจุฬาวิชาการ, ปี 10, ฉบับที่ 3, ธันวาคม 2023, น. 83-104, https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JMA/article/view/263639.
บท
บทความวิชาการ

References

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). ตอบ ดร.มาร์ติน: พุทธวินัย ถึง ภิกษุณี. พิมพ์ครั้งที่ ๔. ม.ป.ท., ๒๕๕๕.

พระพุทธโฆสเถระ. คัมภีร์วิสุทธิมรรค. แปลโดย สมเด็จพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถระ). พิมพ์ครั้งที่ ๑๐. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ธนาเพรส จำกัด, ๒๕๕๔.

พระมหาดาวสยาม วชิรปัญโญ. ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในอินเดีย. พิมพ์ครั้งที่ ๔. กรุงเทพมหานคร: บริษัท เอกพิมพ์ไท จำกัด, ๒๕๕๗.

พระมหาธิติพงษ์ อุตฺตมปญฺโญ. ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ ๕. กรุงเทพมหานคร: ประยูรศาส์น การพิมพ์, ๒๕๖๐.

พระมหาสมบูรณ์ วุฑฺฒิกโร. การตีความในพระพุทธศาสนา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์เซ็นจูรี่, ๒๕๖๑.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙.

______. สารตฺถทีปนีฏีกา (ตติโย ภาโค). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์วิญญาณ, ๒๕๓๘.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. อรรถกถาภาษาไทย พระวินัยปิฎก สมันตปาสาทิกา ภาค ๑. พิมพ์ครั้งที่ ๒ กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๐.

______. อรรถกถาภาษาไทย พระวินัยปิฎก สมันตปาสาทิกา ภาค ๒. พิมพ์ครั้งที่ ๒ กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๐.

______. อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๙.

______. อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ ปปัญจสูทนี ภาค ๒. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๒.

______. คัมภีร์มิลินทปัญหาภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๙.

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตโต). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ ๓๔. (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์พระพุทธศาสนาของธรรมสภา, ๒๕๕๙.

Assistant Professor Ven. Guang Xing. “The Questions of Lesser and Minor Rules”. Journal of International Buddhist Studies (JIBS). Vol 2 (December 2010).

Bhikkhu Khantipāl.The Buddhist Monk's Discipline Some Points Explained for Laypeople. Kandy Sri Lanka: Buddhist Publication Society, 1984.

Jotiya Dhirasekera. Buddhist Monastic Discipline. Colombo: M.D. Gunasena & Co, 1982.

Richard F. Gombrich. Theravāda Buddhism. 2 ed. London and New York: Routledge, 2006.

Sanu Mahatthanadull. “Bhikkhu Pātimokkha: the Fundamental Precepts and their Number of Rules”. Teaching Document, International Buddhist Studies College: Mahachulalongkornrajavidyalaya University, 2014.

ธรรมปาลา. “เรื่อง เงินทอง กับ ทางออก ของคณะสงฆ์ไทย”. ประชาไท. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://prachatai.com/journal [๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๕].