รูปแบบการบริโภคและวิถีชีวิตของพระสงฆ์ที่ปรากฏในอริยวังสสูตร

Main Article Content

สุชาติ บุษย์ชญานนท์
พระครูธีรธรรมบัณฑิต
พระครูพิมลสุตบัณฑิต
นคร จันทราช

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอริยวังสสูตร : รูปแบบการบริโภคและวิถีชีวิตของพระสงฆ์ที่ปรากฏในอริยวังสสูตร ในการศึกษานี้ใช้วิธีการศึกษาและค้นคว้าจากเอกสารที่เกี่ยวข้องโดย แยกประเภท เรียบเรียง สรุปสาระสำคัญ และวิเคราะห์เนื้อหา โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น ๕ ส่วน คือ ๑) ความหมายการบริโภคในอริยวังสสูตร ๒) รูปแบบการบริโภคในอริยวังสสูตร ๓) หลักธธรรมเกี่ยวกับบริโภคในอริยวังสสูตร และ ๔) วิถีชีวิตของพระสงฆ์กับบริโภคในอริยวังสสูตร และ ๕) บทสรุป


          ผลการศึกษาพบว่า  การบริโภคในพระพุทธศาสนาเป็นการบริโภคปัจจัย ๔ คือ ๑)จีวร ๒)อาหาร ๓) เสนาสนะ และ ๔) ยารักษาโรค ที่มีจุดหมายคือการคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นโดยบริโภคเพื่อคุณค่าที่แท้จริง มุ่งพัฒนาคุณภาพและศักยภาพของความเป็นมนุษย์ในอริยวังสสูตรมีรูปแบบการบริโภคและวิถีชีวิตของพระสงฆ์ที่ปรากฏในอริยวังสสูตรคือมีหลักธรรมเรื่องสันโดษและหลักปาริสุทธิศีล ส่วนวิถีชีวิตของพระสงฆ์กับบริโภคในอริยวังสสูตรโดยเบื้องต้นพระสงค์ควร พิจารณาตนว่าเป็นบรรพชิต วิธีการแสวงหาลาภที่ไม่สมควร นอกจากนี้ยังมีบุคคลและสถานที่ต้องห้ามตลอดจนตระกูลที่ควรเข้าไปและไม่ควรเข้าไปอันเป็นหลักปฏิบัติสำหรับพระสงฆ์

Article Details

How to Cite
บุษย์ชญานนท์ ส., พระครูธีรธรรมบัณฑิต, พระครูพิมลสุตบัณฑิต, และ จันทราช น. “รูปแบบการบริโภคและวิถีชีวิตของพระสงฆ์ที่ปรากฏในอริยวังสสูตร”. วารสารมหาจุฬาวิชาการ, ปี 12, ฉบับที่ 1, มกราคม 2025, https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JMA/article/view/276576.
บท
บทความวิชาการ

References

กรมพัฒนาทางการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก.คู่มือประชาชนในการดูแลสุขภาพด้วย

การแพทย์แผนไทย.กรุงเทพมหานคร : สำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การทหารผ่าน

ศึกในพระบรมราชูปถัมภ์,๒๕๔๗.

พระไพศาล วิสาโล.อยู่ย้อนยุค ทัศนะทวนกระแสบริโภคนิยม.พิมพ์ครั้งที่ ๒.นนทบุรี :

สำนักพิมพ์มูลนิธิคุ้มครองผู้บริโภค, ๒๕๕๓.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต) .เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ. พิมพ์ครั้งที่ ๙.กรุงเทพมหานคร :

สำนักพิมพ์สหธรรมมิก, ๒๕๔๘.

__________ . พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม.พิมพ์ครั้งที่ ๑๗.

กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๑.

พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต) .อายุยืนยาวอย่างมีคุณค่า.กรุงเทพมหานคร:

ธรรมสภาและสถาบันบันลือธรรม, ๒๕๔๖.

__________ . เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ.กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์โกมลคีมทอง, ๒๕๓๘.

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙.

วศิน อินทสระ.สาระสำคัญแห่งวิสุทธิมรรค.พิมพ์ครั้งที่ ๕.กรุงเทพมหานคร:

โรงพิมพ์เม็ดทราย, ๒๕๕๗.

สมิทธิพล เนตรนิมิตร.ภาพลักษณของพระสงฆ์ในอริยวินัย : วิถีชีวิตและบทบาทของพระสงฆ์.

รายงานการวิจัย.สถาบันวิจัยพุทธศาสตร : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,

๒๕๕๓.