นิเวศวิทยาวัฒนธรรมเชิงพุทธบูรณาการ
Main Article Content
บทคัดย่อ
แนวคิดนิเวศวิทยาวัฒนธรรม เป็นแนวคิดทางมานุษยวิทยาที่สนใจศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม โดยเน้นถึงอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมว่าเป็นตัวกำหนดกระบวนการวิวัฒนาการทางสังคมวัฒนธรรม ส่วนในพระพุทธศาสนา มีความหมายถึงสิ่งที่เรียกว่า บริขารหรือบริวาร คือ สิ่งที่อยู่แวดล้อมกันทั้งสิ่งที่เป็นธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น ซึ่งส่งผลต่อการดำรงชีวิตและการพัฒนาทางจิตวิญญาณของมนุษย์
ประเภทของระบบนิเวศในพระพุทธศาสนา แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ (1) ระบบนิเวศทางธรรมชาติ แบ่งเป็นระบบนิเวศทางธรรมชาติที่ไม่มีชีวิต ได้แก่ อุตุนิยาม และระบบนิเวศทางธรรมชาติที่มีชีวิต ได้แก่ พีชนิยาม และจิตนิยาม และ (2) ระบบนิเวศทางวัฒนธรรม แบ่งเป็นระบบนิเวศทางวัฒนธรรมที่เป็นรูปธรรม และระบบนิเวศทางวัฒนธรรมที่เป็นนามธรรม
รูปแบบนิเวศวิทยาวัฒนธรรมเชิงพุทธบูรณาการ มี 2 ด้าน คือ รูปแบบนิเวศวิทยาวัฒนธรรมเชิงพุทธบูรณาการภายนอกตามหลักสัปปายะ 7 และรูปแบบนิเวศวิทยาวัฒนธรรมเชิงพุทธบูรณาการภายในตามหลักภาวนา 4 มีเป้าหมาย 2 ประการ คือ เป้าหมายทางกาย ได้แก่ ปัจจัย 4 และเป้าหมายทางใจ ได้แก่ ผัสสะ 6 เพื่อจัดถิ่นที่อยู่ของมนุษย์ให้เป็นปฏิรูปเทส
Article Details
References
คณะกรรมการแผนกตารา. มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 15. กรุงเทพมหานคร : มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550.
งามพิศ สัตย์สงวน. การวิจัยทางมานุษยวิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542.
_________. หลักมานุษยวิทยาวัฒนธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ธรรมสภา, 2551.
เทพพร มังธานี. ‚จริยศาสตร์สิ่งแวดล้อมตามแนวพุทธจริยศาสตร์‛. วารสารมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์. (19 (1) ตุลาคม-ธันวาคม 2544): 9.
นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ. Cultural Ecology. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.sac.or.th/databases/anthropology-concepts/glossary/28 [15 มีนาคม 2564].
เนื่องน้อย บุณยเนตร. จริยศาสตร์สภาวะแวดล้อม โลกทัศน์ในพุทธปรัชญากับปรัชญาตะวันตก.กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537.
ป. ปลงสมบุญ. พจนานุกรม มคธ-ไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. ม.ป.ท., ม.ป.ป..
ปิยมาศ ใจใฝ่. ‚แนวคิดนิเวศวิทยาเชิงจิตวิญญาณของสาทิต กุมาร‛. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2552.
พระพุทธโฆสเถระ. คัมภีร์วิสุทธิมรรค. แปลและเรียบเรียงโดย สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร). พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร: ธนาเพรส, 2548.
พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ. ปยุตฺโต. พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 16. กรุงเทพมหานคร: บริษัท เอส. อาร์. พริ้นติ้ง แมส โปรดักส์ จากัด, 2551.
พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช). คาวัด. กรุงเทพมหานคร: เลี่ยงเชียง, 2548.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพมหานคร : บริษัท เอส. อาร์. พริ้นติ้ง แมส โปรดักส์ จากัด, 2548.
พระศรีคัมภีรญาณ (สมจินต์ สมฺมาปํฺโญ). สารนิพนธ์พุทธศาสตรบัณฑิต. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2554.
มนัส สุวรรณ. นิเวศวิทยาของมนุษย์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 2539.
มหามกุฏราชวิทยาลัย. วิสุทธิมรรคแปล ภาค 1 ตอน 1. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2535.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร: นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่น, 2546.
สมเด็จพระธีรญาณมุนี. “คุณวัด”. วารสารใบลาน. (ฉบับที่ 5, 2528): 10.
องฺ.สตฺตก.อ. (บาลี) 3/38/179.
Clifford Geertz. Agricultural Involution: The Process of Agricultural Change in Indonesia. Berkeley: University of California Press, 1963.
Coenen H. J. M., & Halfacre, C.. Environmental Risk Perception, Income, and Ethnicity: Does the Netherlands Have An Environmental Justice Problem? American Political Science Association Annual Meeting in Atlanta. Georgia: University of twente Publication, 1999.
Des Jardins, Joseph R.. Environmental Ethics: An introduction to environmental philosophy. United Stated of America: Wadsworth Publishing Company, 1997.
Ecological Society of America. ‚Biodiversity and Ecosystem Functioning: Maintaining Natural Life Support Processes‛. Issues in Ecology. (Number 4, Fall 1999): 5.
Harris, M.. Cows, Pigs. Wars and Witches: The Riddles of Culture. London: Hutchinson & Co. 1975.
Heywood, I. Social Theories of Art: A Critique. New York: New York University, 1998.
Joseph R., Desjardins. Environmental Ethics: An Introduction to Environmental Philosophy. Boston: Wadsworth, 1997.
Julian H. Steward. Theory of Culture Change: The Methodology of Multilinear Evolution. Urbana and Chicago: University of Illinois Press, 1972.
Odum, E. P.; Barrett, G. W.. Fundamentals of Ecology. 5th Edition. Georgia: Thomson Brooks Cole, 2005.
“The ‘environment’ is where we live; and development is what we all do in attempting to improve our lot within that abode. The two are inseparable”. United Nations Environment Programme, Global Environment Outlook GEO environment for development 4. United Nation Environment Programme in 2007, Valletta: Progress Press LTD, 2007.