มุมมองชีวิตตามแบบอริยสัจ 4

Main Article Content

สมจันทร์ ศรีปรัชยานนท์
วารุมาตร์ แก้วคะปวง
ปาณิสรา เทพรักษ์

บทคัดย่อ

               ชีวิตของมนุษย์เกิดจากภาวะการปรุงแต่และรวมกันของขันธ์ 5 ได้แก่ รูป เวทนา สัญญา สังขาร และ วิญญาณ เป็นสภาวะที่ต้องดาเนินไปตามกฎแห่งการเปลี่ยนแปลงและเกิดภาวะแห่งความทุกข์ ความเศร้า ความบีบคั้นแห่งร่างกายและจิตใจ อริสัจเป็นการเข้าใจสภาวะแห่งขันธ์ที่เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับสลายไปตามสามัญลักษณะ รู้เท่าทันและเข้าใจทุกข์เพื่อที่จะกาจัดหรือให้พ้นจากความทุกข์โดยการฝึกอบรมปฏิบัติตนด้วยการกาหนดรู้สาเหตุที่เกิดทุกข์ การเข้าถึงภาวะแห่งการดับทุกข์ด้วยการฝึกอบรมปฏิบัติ ได้แก่ ปริญญา การกาหนดรู้ ปหานะ การละหรือการกาจัดสาเหตุแห่งทุกข์ สัจฉิกิริยา การทาให้แจ้ง และภาวนา การฝึกอบรมปฏิบัติตามทางเพื่อการดับทุกข์ ดังนั้น การใช้ปัญญาแก้ไขปัญหาแห่งทุกข์ในสภาวการณ์ต่าง ๆ จึงเป็นหนทางอริยสัจอันแท้จริง และเครื่องมือที่ช่วยนาพามนุษย์ให้เกิดความรู้และเข้าใจแห่งสภาพชีวิตและดารงอยู่อย่างมีความสุขอย่างแท้จริง

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ที.ม. (ไทย) 10/202/150 151.
ส .ม.(ไทย) 19/1081/593.
พระธรรมปิฎก, ป.อ.ปยุตฺโต, พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2543.
พระพรหมคุณาภรณ์, ป.อ. ปยุตฺโต, แก่นแท้ของพระพุทธศาสนา. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิพุทธ ธรรม, 2554.
________. พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย. พิมพ์ครั้งที่ 32. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555.
พุทธทาสภิกขุ. อาณาปาณสติภาวนาสมบูรณ์แบบ. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา, 2535.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2539.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตสถาน 2542. อ้างในพระครูปลัดสุวัฒนเมธาคุณ, ดร. (ชัยยันต์ จตฺตาลโย). “พุทธศาสนา: ปรัชญาแห่งชีวิต”. MBU Education Journal: Faculty of
แสง จันทร์งาม. ตายแล้วเกิด (ตามหลักพระพุทธศาสนาเถรวาท). กรุงเทพมหานคร: มหามกุฏราช วิทยาลัย, 2535.
อภิญวัฒน์ โพธิ์สาน. พุทธศาสน์แนวปฏิบัติเพื่อชีวิต. มหาสารคาม: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัย มหาสารคาม, 2551.
Education Mahamakut Buddhist University Vol. 3 No. 2, July – December, 2015,: 27 28.