ภาวะผู้นำ : จริยธรรมนักการเมืองไทยตามหลักพระพุทธศาสนา

Main Article Content

อภิชา สุขจีน

บทคัดย่อ

               ปัญหาทางจริยธรรมของนักการเมืองเป็นปัญหาที่มีมามากกว่า 80 ปี นับตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475 เกิดการรัฐประหารหรือการยึดอานาจซ้าแล้วซ้าอีก สาเหตุสาคัญประการหนึ่งก็คือ เกิดจากตัวผู้ปกครองเอง หรือนักการเมืองที่มุ่งแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตัวมากกว่าส่วนรวม เกิดการคอรัปชั่น จนนาไปสู่การออกมาเรียกร้องของประชาชนจนเกิดความวุ่นวายในสังคม จนทาให้ประเทศชาติขาดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จนเกิดแนวคิดเรื่องภาวะผู้นา หรือคุณสมบัติของผู้ปกครอง หมายถึงความสามารถในการดูแล ปกป้อง คุ้มครองเพื่อให้เกิดความสงบสุขในสังคม ผู้ปกครองหรือผู้นาเป็นบุคคลที่ได้รับการคัดสรรมาจากเสียงส่วนใหญ่ของประชาชน ให้เข้ามาทาหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ของส่วนรวม นักการเมืองหรือ ผู้ปกครอง ถือเป็นตัวแทนของประชาชนในการเป็นกระบอกเสียงสะท้อนให้ผู้มีอานาจทางการปกครองได้รับทราบถึงสภาพความเป็นอยู่ ซึ่งนักการเมืองหรือผู้ปกครองที่ดีตามหลักการทางพระพุทธศาสนานั้นจะต้องเป็นผู้ที่ได้รับการพัฒนาสติปัญญาและยึดมั่นในหลักพุทธธรรม เพราะเมื่อผู้นายึดมั่นในหลักการทางพระพุทธศาสนาแล้วนั้นประโยชน์ก็ย่อมที่จะเกิดขึ้นกับประชาชน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

องฺ.จตุกฺก (ไทย) 21/70/89
คณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. มนุษย์กับสังคม. โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2550
ประวิช รัตนเพียร. ประชาธิปไตย Diy Democracy ‘Do it yourself’ โรงพิมพ์ หยี่เฮง จากัด, 2562
พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). ปรัชญากรีก บ่อเกิดภูมิปัญญาตะวันตก. สานักพิมพ์ศยาม, 2550
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ 22. โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2557
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). ภาวะผู้นา. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิกการพิมพ์, 2546
พระภาวนาวิริยคุณ. รัฐศาสตร์เชิงพุทธ. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ดอกหญ้ากรุ๊ป, 2547
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี, สืบค้นจาก https://www.posttoday.com/dhamma/94082).
พระมหาหรรษา ธมฺมหาโส. พระพุทธศาสนากับวิทยาการสมัยใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 3. โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2557
มนตรี เจนวิทย์การ. จริยธรรมในวิชาชีพ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชวนพิมพ์, 2546
รภัทร์ เสรีรังสรรค์. นักการเมืองไทย: จริยธรรม ผลประโยชน์ทับซ้อน การคอรัปชั่นสภาพปัญหาสาเหตุ ผลกระทบ แนวทางแก้ไข. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์สายธาร, 2549
สมบัติ จันทรวงศ์. ปรัชญาการเมืองเบื้องต้น: บทวิเคราะห์โสเกรติส พิมพ์ครั้งที่ 2. สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2535