การพัฒนาหลักสูตรเตรียมความพร้อมเพื่อเป็นพระธรรมทูตสำหรับสามเณร

Main Article Content

พระมหาภานุวัตน์ ลุใจคำ
ปริญญภาษ สีทอง

บทคัดย่อ

               การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาหลักสูตรเตรียมความพร้อมเพื่อเป็นพระธรรมทูต
สา หรับสามเณร และ 2. เพื่อศึกษาผลการใช้หลักสูตรเตรียมความพร้อมเพื่อเป็นพระธรรมทูตสา หรับสามเณร
กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ สามเณรที่ศึกษาอยู่ในโรงเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดลาปาง ที่สมัคร
เข้ารับการอบรมตามหลักสูตร จานวน 30 รูป เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ หลักสูตรและคู่มือการใช้
หลักสูตรเตรียมความพร้อมเพื่อเป็นพระธรรมทูตสาหรับสามเณร วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ
ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t–test แบบ dependent)
                ผลการวิจัย พบว่า หลักสูตรที่พัฒนาขึ้นคือหลักสูตรเตรียมความพร้อมเพื่อเป็นพระธรรมทูตสา หรับ
สามเณร ประกอบด้วย 9 องค์ประกอบ ได้แก่ 1. ปัญหาและความจาเป็น 2. หลักการของหลักสูตร 3.
จุดมุ่งหมายของหลักสูตร 4. โครงสร้าง/เนื้อหาสาระของหลักสูตร 5. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 6. ระยะเวลา
7. ผู้เข้ารับการอบรม 8. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 9. การประเมินผลการฝึกอบรม ในภาพรวมหลักสูตรมี
คุณภาพอยู่ในระดับมากที่สุด (x̅ = 4.63, S.D. = 0.52) และคู่มือการใช้หลักสูตรมีคุณภาพอยู่ในระดับมาก
ที่สุด (x̅ = 4.71, S.D. = 0.39) ผลการใช้หลักสูตรเตรียมความพร้อมเพื่อเป็นพระธรรมทูตสาหรับสามเณร
สามเณรมีคะแนนสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสา คัญทางสถิติที่ระดับ .05

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

พระมหาโชคดี เพชรมาก. การประเมินผลโครงการฝึกอบรมพระธรรมทูต รุ่นที่ 5 45/2552 ของสา นัก
ฝึกอบรมพระธรรมทูต วัดปากน้าภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์หลักสูตร ปริญญา
รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะ: บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรีนคริ
นทรวิโรฒ, 2555
วิทยาลัยพระธรรมทูต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. รายชื่อพระธรรมทูตสายต่างประเทศ.
2561. จากเว็บไซต์ /www.odc.mcu.ac.th/?page_id=2378
สง่า พิมพ์พงษ์. คู่มือพระธรรมทูต. กรุงเทพมหานคร: ฝ่ ายเผยแผ่พระพุทธศาสนา กองพุทธศาสนศึกษา
สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ, 2551
Taba, Hilda. Curriculum development theory and practice. New York: Harcourt. Washington,
Ohio: Jones, 1978