ความรู้ด้านการบริโภคอาหารของพระภิกษุสูงวัยในจังหวัดศรีสะเกษ

Main Article Content

เตชภณ ทองเติม
จีรนันท์ แก้วมา

บทคัดย่อ

               การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความรู้ด้านการบริโภคอาหารของพระภิกษุสูงวัยในจังหวัด
ศรีสะเกษ ตัวอย่างเป็นพระภิกษุสูงวัย ที่มีอายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไป ในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ จานวน 523 รูป
ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบง่ายและสุ่มแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็น
แบบสอบถาม ที่คณะผู้วิจัยพัฒนาขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า พระภิกษุสูงวัยมีความรู้ด้านการบริโภคอาหารอยู่ในระดับปานกลาง ( = 9.82 จากคะแนน
เต็ม 15 คะแนน, S.D. = 1.91) เมื่อจา แนกตามระดับคะแนนความรู้ด้านการบริโภคอาหาร พบว่า พระภิกษุสูง
วัยมีความรู้ในระดับไม่ดี มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 43.02 รองลงมามีความรู้ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ
37.48 และมีความรู้อยู่ในระดับดี น้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 19.50 ตามลาดับ จากผลการศึกษา ควรมีการ
ส่งเสริมองค์ความรู้และการปฏิบัติในด้านการบริโภคอาหารสาหรับพระภิกษุสงฆ์สูงวัยที่ไม่ขัดกับหลัก
พระพุทธศาสนา

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ชรินทร์ ห่วงมิตร นเรศน์ ฐิตินันทิวัฒน์ และอมรรัตน์ กล่าทัพ. พัฒนารูปแบบการสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพเครือข่ายพระภิกษุสงฆ์ในเขตเทศบาลนครสวรรค์. สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, 2560.
เตชภณ ทองเติม. การศึกษาภาวะทุพพลภาพของพระภิกษุสูงวัยในจังหวัดศรีสะเกษ. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 2557.
พระกิตติญาณเมธี วราภรณ์ ทรัพย์รวงทอง และสมบูรณ์ สุขสาราญ. การส่งเสริมการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมของพระสงฆ์ในจังหวัดลพบุรี. วารสารรัชต์ภาคย์. 2561.
พระครูสุวิธานพัฒนบัณฑิต ธวัลรัตน์ แดงหาญ และสรัญญา วภัชชวิธี. การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพองค์รวมของพระสงฆ์ในจังหวัดขอนแก่น โดยเน้นการมีส่วนร่วมของเครือข่าย. วารสารสานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดขอนแก่น. 2558.
วัชรินทร์ ออละออ. สุขภาพพระสงฆ์ในบริบทชุมชนอุตสาหกรรม.วารสารวิจัยสังคม. 2557.
ศิริพร พรพุทธศิริพร พรพุทธษา. ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมในการป้องกันภาวะหกล้มของผู้สูงอายุ. ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลผู้สูงอายุ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2542.
ศิวิไล โพธิ์ชัย ปริศนา เส้งโสตะ และ กลิ่นสุคนธ์ แสงแก้ว. ผลการตรวจสุขภาพประจาปีของพระภิกษุ อาเภอเมืองศรีสะเกษ และอาเภอพยุห์. วารสารการแพทย์โรงพยาบาลศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์. 2561.
ศุภลักษณ์ ธนธรรมสถิต ปราณปรียา โคสะสุ และศิรดา ศรีโสภา. สุขภาวะของพระภิกษุสงฆ์ในจังหวัดอุบลราชธานี. ศูนย์อนามัยที่ 7. จังหวัดอุบลราชธานี. 2552.
สนธนา สีฟ้า. การศึกษาพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพของพระภิกษุ ในจังหวัดปัตตานี. ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 2560.
สานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ. ธรรมนูญสุขภาพพระสงฆ์แห่งชาติ พุทธศักราช 2560. กรุงเทพฯ: โอ.เอส พริ้นท์ติ้งเฮ้าส์ จากัด. 2560.
สานักงานพระพุทธศาสนา. จานวนพระภิกษุ – สามเณรทั่วประเทศ. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2560. จากเว็ปไซต์ http://www.onab.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=921:2010-10-07-11-33-40&catid=77:2009-07-14-14-27-10&Itemid=391 [2560, 20 กันยายน]
สานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดศรีสะเกษ. ข้อมูลวัดในจังหวัดศรีสะเกษ. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2560. จากเว็ปไซต์http://ssk.onab.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=190&Itemid=128
อมรรัตน์ นธะสนธิ์ นพวรรณ เปียซื่อ และ ไพลิน พิณทอง. ความรู้ทางโภชนาการ ทัศนคติเกี่ยวกับอาหาร พฤติกรรมการรับประทานอาหาร และภาวะโภชนาการในชุมชน กึ่งชนบทจังหวัดอุบลราชธานี. อุบลราชธานี: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 2560.
อลงกรณ์ สุขเรืองกูล ทวีลักษณ์ วรรณฤทธิ์ ประทับจิต บุญสร้อย และไพโรจน์ อุตศรี. ปัจจัยทานายพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของพระสงฆ์ในจังหวัดเชียงราย. พยาบาลสาร. 2560.
Cochran, W.G. Sampling Techiques. New York: John Wiley & Sons. Inc. 1953.
Cronbach, L. J. Essentials of psychological testing. 5th ed. New York: Harper Collins. Publishers. 1990.