แนวทางการจัดการศึกษาของศาสนทายาทในบริบท ของสังคมไทยในศตวรรษที่ 21

Main Article Content

พระสิทธิศักดิ์ พรมสิทธิ์

บทคัดย่อ

               การศึกษาเป็นหัวใจสำคัญของประเทศชาติ พระพุทธศาสนาเป็นหัวใจสำคัญยิ่งของการศึกษา แต่เดิมวัดเป็นแหล่งที่มาของการศึกษา พระเป็นครูสอนให้การศึกษาในด้านต่างๆ วัดจึงเป็นแหล่งพัฒนาการศึกษาของไทยมาตั้งแต่อดีตกาล และมีบทบาทสำคัญในการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาประชาชนในชาติให้ความรู้ ความสามารถ มีคุณธรรม จริยธรรม สามารถประกอบอาชีพและดำรงชีวิตอย่างสงบสุข สังคมไทยส่วนใหญ่เป็นสังคมที่นับถือพระพุทธศาสนา การปฏิรูปการศึกษาในปัจจุบัน จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะนำเอาพระพุทธศาสนาเข้ามาเกี่ยวข้องกับการศึกษาโดยนำเอาการเรียนการสอนพระพุทธศาสนามาประยุกต์ให้สัมพันธ์กลมกลืนไปกับวิชาต่างๆ ที่จัดให้มีการเรียนการสอนในสถานศึกษาต่างๆ ทั่วประเทศ

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กิตติ ธีรศาสตร์. เทคนิคการบริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา. กรุงเทพมหานคร: กองศาสนศึกษา กรมศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์กรมการศาสนา, 2539.
พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). พระพุทธศาสนากับการศึกษาในอดีต. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2533.
พิณสุดา สิริธรังศรี. “ความสาเร็จของวัดจองคา : การจัดการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกธรรม-บาลี ดีเด่น”. กรุงเทพมหานคร: สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ, 2547.
พินสุดา สิริธรังศรี. วัดจองคา อาเภองาว จังหวัดลาปาง การจัดการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกธรรม-บาลีดีเด่น. กรุงเทพมหานคร: บริษัท พิมพ์ดีการพิมพ์ จากัด, 2548.
มานพ นักการเรียน. พระพุทธศาสนากับศาสตร์สมัยใหม่. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2545.