เป้าหมายและชีวิตตามช่วงวัยตามแบบสุภาษิตล้านนา

Main Article Content

สมจันทร์ ศรีปรัชยานนท์
พระมหากีรติ วรกิตฺติ
ปาณิสรา เทพรักษ์

บทคัดย่อ

              ชีวิตตามวัฒนธรรมช่วงวัยตามแบบสุภาษิตล้านนาจากการขัดเกลาทางสังคมและเป็นวิถีชีวิตที่บ่งบอกถึงเป้าหมาย กิจกรรมและการปฏิบัติตามช่วงวัยสามารถแบ่งเป้าหมายชีวิตได้ 3 ช่วงวัย คือ ปฐมวัย วัยแรกเริ่มแห่งมนุษย์ที่มุ่งเน้นความสุข ความสนุกสนาม ตระหนักความสุขจากตนเองมากกว่าคนอื่น ช่วงมัชฌิมวัย เป็นช่วงชีวิตที่ต้องการความมั่นคง ตั้งตนชอบ แสวงหาความสุขที่เป็นทิฏฐธัมมิกัตถะประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัวและสังคม ขยันหมั่นเพียรที่จะแสวงหาทรัพย์สินเพื่อประโยชน์สุข และช่วงปัจฉิมวัย เป็นช่วงวัยที่จะต้องเข้าใจสัจธรรมแห่งสังขารตามหลักสามัญลักษณะ คือ อนิจจัง ทุกขังและอนัตตา ตั้งตนและแสวงหาความสุขในเบื้องหน้าด้วยการให้ทาน รักษาศีลและเจริญภาวนาในการพัฒนาตนเองให้เข้าใจถึงแก่นแท้แห่งชีวิตที่ประกอบด้วยปัญญา มุ่งหวังความสุขในสัมปรายิกภพเบื้องหน้าอันมีสวรรค์และปรมัตถะภพคือการสิ้นสุดแห่งอาสวะกิเลสเพื่อนำตนเข้าสู่บรมสุขอันเป็นดินแดนแห่งพระนิพพานต่อไป

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

คูณ โทขันธ์ (รองศาสตราจารย์). พุทธศาสนากับชีวิตประจาวัน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ โอเดียนสโตร์, 2537.
งามพิศ สัตย์สงวน. หลักมานุษยวิทยาวัฒนธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543.
จำนง อดิวัฒนสิทธิ์. สังคมวิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2540.
ทองพูล บุณยมาลิก และคณะ. ความจริงของชีวิต. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์หนังสือสถาบันราชภัฎสวนดุสิต, 2544.
บุปผา ทวีสุข. คติชาวบ้าน. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2520.
ประภาศรี สีหอำไพ. วัฒนธรรมทางภาษา. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534.
พุทธทาสภิกขุ. อาณาปาณสติภาวนาสมบูรณ์แบบ. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา, 2535.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). พุทธธรรม ฉบับปรับขยายความ. พิมพ์ครั้งที่ 32. กรุงเทพมหานคร: ผลิธัมม์, 2551.
พระเทพดิลก (ระแบบ ฐิตญาโณ). นิเทศธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: กองทุนไตรรัตนานุภาพ, 2548.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). พุทธธรรม. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2538.
_____________________. พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2528.
พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช). พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภาและสถาบันบันลือธรรม, 2551. ไพศาล ไกรสิทธิ์. การศึกษาเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. ราชบุรี: คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง, 2541.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาเตปิฎก 2500. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2535.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. กรุงเทพมหานคร: ราชบัณฑิตยสถาน, 2556. _________. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2556.
_________. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตสถาน 2542. อ้างในพระครูปลัดสุวัฒนเมธาคุณ, ดร. (ชัยยันต์ จตฺตาลโย), “พุทธศาสนา: ปรัชญาแห่งชีวิต”, MBU Education Journal : Faculty of Education Mahamakut Buddhist University, Vol. 3 No. 2, (July – December, 2015): 27-28.
_____________. พจนานุกรรมศัพท์ปรัชญา อังกฤษ-ไทย (ฉบับราชบัณฑิตยสถาน). พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: ราชบัณฑิตยสถาน, 2540.
วิทย์ วิศทเวทย์, จริยศาสตร์เบื้องต้นกับปัญหาจริยธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์, 2532.
วิภาพร มาพบสุข. การพัฒนาคุณภาพชีวติและสังคม. กรุงเทพมหานคร: แพร่พิทยา, 2550.
สมใจ ลักษณะ. การพัฒนาประสิทธิภาพในการทางาน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 2548.
สุเทพ สุนทรเภสัช. ทฤษฎีสังคมวิทยาร่วมสมัย พื้นฐานแนวคิดทฤษฎีทางสังคมและวัฒนธรรม. เชียงใหม่: ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2535. สมภาร พรมทา. มนุษย์กับศาสนา. กรุงเทพมหานคร: ศยาม, 2546.
หลักสูตรหมวดศึกษาทั่วไป (General Education). ความจริงของชีวิต Meaning of Life. เชียงราย: มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย, 2557.
อรทัย เจียมดำรัส. สุขภาพจิตดี...ด้วยวิถีล้านนา. เชียงใหม่: กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข, 2559.
Oxford Advanced Learner’s Dictionary, 1988.